Book,Page,LineNumber,Text
05,0233,001,ส่องความอีกฝ่ายหนึ่ง. จงดูอุทาหรณ์เทียบ ในทัฬหีกรณโชตกนิบาต
05,0233,002,(๗) อุทาหรณ์สุดท้ายเถิด. ปน ในคำว่า อิตฺถิโย ปน ฯ เป ฯ
05,0233,003,ปฏิลภนฺติ. เรียก ปกฺขนฺตรโชตโก.
05,0233,004,อันวยโชตกนิบาต
05,0233,005,๙. ถ้าความท่อนต้นกล่าวปฏิเสธ คือมี ไม่ ๆ อย่า ๆ ความ
05,0233,006,ท่อนหลังกล่าวอนุโลม คือไม่ใช้ปฏิเสธ แต่คล้อยตามความท่อนต้น
05,0233,007,นิบาตในความท่อนหลัง เรียกชื่อว่า อนฺวยโชตโก. ในอรรถนี้ใช้
05,0233,008,"นิบาต ๓ ศัพท์ คือ หิ, จ, ปน, ตรงความไทยว่า อัน, มีอุทาหรณ์"
05,0233,009,"ดังนี้: ยาจกา นาม มจฺฉริชเน ""เทหี"" ติ น ยาจนฺติ; เกวลํ"
05,0233,010,"ปโพธยนฺติ. ""สามิ ตฺวํปิ มํ ปุพฺเพ ทานสฺส อทินฺนตาย อวตฺถก-"
05,0233,011,"ปาลหตูถํ วิจรนฺตํ ปสฺส, ตฺวํ มาทิโส มา ภวา' ติ. มจฺฉริชนา"
05,0233,012,"ปน ""เทหี' ติ วจนมตฺตํ สุตฺวา ฆเร สพฺพํ วิภวํ ขยํ วิย"
05,0233,013,สมฺปสฺสมานา กากณิกํปิ ทาตุํ อสกฺโกนฺตา ปริภาสนฺติ. (ฎีกา-
05,0233,014,คันถัฏฐิ) ปน ในความท่อนหลัง เรียก อนฺวยโชตโก. อุทาหรณ์
05,0233,015,ผูกไว้เป็นแบบเทียบดังนี้; พาโล นาม น วิสฺสาสิตพฺโฑ. โส จ
05,0233,016,มิตฺตทุพฺภี โหติ.