Book,Page,LineNumber,Text 09,0009,001,คำก็จะสละสลวยขึ้น เช่น นีลุปฺปลํ เป็นต้น. ศัพท์วิเสสนะบางคำ 09,0009,002,เมื่อเปลี่ยนสมาสแล้ว ก็เปลี่ยนไปบ้าง เช่น มหนฺโต ปุรฺโส เป็น มหา- 09,0009,003,ปุริโส เพราะ มหนฺต ศัพท์ เมื่อเข้าสมาสแล้ว ท่านแปลงเป็นมหา เช่น 09,0009,004,"มหนฺตํ วนํ=มหาวนํ, มหนฺตี ธานี=มหาธานี เป็นต้น และเป็น" 09,0009,005,มห ก็มี เช่น มหนฺตํ ผลํ มหปฺผลํ บทวิเสสนะบางอย่าง เมื่อเข้า 09,0009,006,สมาสแล้ว เหลือไว้แต่อักษรหน้าตัวเดียว เช่น กุจฺฉิตา ทิฏฺ€ิ=กุทิฏฺ€ิ 09,0009,007,สนฺโต ปุริโส=สปฺปุริโส (ซ้อน ปฺ ด้วยวิธีสนธิ) ปธานํ วจนํ=ปาวจนํ 09,0009,008,(ทีฆะ อะ ที่ ป เป็น อา) มีข้อความสังเกตในสมาสนี้ คือ :- 09,0009,009,๑. เมื่อเข้าสมาสแล้ว ถ้าเป็นบทที่สนธิได้ ก็ควรสนธิกัน 09,0009,010,ด้วย (ข้อนี้ใช้ในสมาสทั่วไป). 09,0009,011,๒. แปลงบทวิเสสนะในบทปลงเป็นอย่างอื่น. 09,0009,012,๓. เหลือบทวิเสสนะไว้แต่อักษรหน้าคำเดียว. 09,0009,013,๒. วิเสสนุตตรบท 09,0009,014,สมาสนี้มีบทวิเสสนะอยู่ข้างหลัง บทประธานอยู่ข้างหน้า รูป 09,0009,015,วิเคราะห์ต้องประกอบวิเสสนะด้วยลิงค์วจนะวิภัตติ ให้เสมอกับบท 09,0009,016,ประธานเท่านั้น. เมื่อนักเรียนเห็นศัพท์สองศัพท์เข้าสมาสกันอยู่ ก็ 09,0009,017,ควรพิจารณาให้เห็นว่า ศัพท์ไหนเป็นคุณนาม ศัพท์ไหนเป็นนามนาม 09,0009,018,เช่น สตฺตวิเสโส ควรแปลและสังเกตคำแปลให้รู้ชัดว่า คำ สตฺต 09,0009,019,เป็นอะไร วิเสส เป็นอะไร ก็สังเกตได้ว่า สตฺต เป็นบทนามนาม 09,0009,020,ในที่นี้ บทไหนอยู่ข้างหลัง ก็จะเห็นได้ว่า สตฺต ซึ่งเป็น