Book,Page,LineNumber,Text 13,0006,001,อุ. ที่ ๒ 13,0006,002,อนภิชฺฌา ปริพฺพาชกา ธมฺมปทํ. อพฺยาปาโท ปริพฺพชกา 13,0006,003,"ธมฺมปทํ, สมฺมาสติ ปริพฺพาชกา ธมฺมปทํ, สมฺมาสมาธิ ปริพฺพา-" 13,0006,004,"ชกา ธมฺมปทํ. [ กุณฺฑลเกสีเถรี. ๔/๑๑๑ ] "" ดูก่อนปริพาชกและ" 13,0006,005,"ปริพาชิกา ท. ธรรมบท คืออนภิชฌา, ดูก่อน... ธรรมบท คือ" 13,0006,006,"ััอัพยาบาท, ดูก่อน....ธรรมบท คือ สัมมาสติ, ดูก่อน... ธรรมบท" 13,0006,007,"คือ สัมมาสมาธิ.""" 13,0006,008,อุ. ที่ ๓ 13,0006,009,"ปญฺา เว สตฺตมํ ธนํ. [ สุปฺปพุทฺธกุฏฺ€ิ. ๓/๑๓๕ ] "" ทรัพย์" 13,0006,010,"ที่ ๗ คือปัญญาแล.""" 13,0006,011,ข้อสังเกต : มักแปลกันว่า ปัญญาแล เป็นทรัพย์ที่ ๗. 13,0006,012,[ ๒ ] บทไขของบทปลง ทราบว่า โบราณท่านก็เรียกว่า 13,0006,013,"วิเสสลาภี เช่น วุจฺจตีติ วจนํ อตฺโถ ""สัททชาตใดอันเขากล่าว เหตุ" 13,0006,014,นั้น สัททชาตนั้น ชื่อ วจนะ คือ อรรถ. (อตฺโถ โบราณท่านเรียกว่า 13,0006,015,วิเสสลาภี). บทไขของบทปลงนี้ ในโยชนาเรียกว่า ลิงคัตถะ ดังจะ 13,0006,016,"กล่าวต่อไป, แต่เรียกตามที่โบราณท่านเรียกดูเข้าทีดี. " 13,0006,017,[ ๓ ] บทวิเสสลาภี ใช้นามนาม เพราะฉะนั้น จึงต่างลิงค์จาก 13,0006,018,บทนามนาม ที่กล่าวความกว้างได้ เพราะคงตามลิงค์เดิมของตน เช่น 13,0006,019,อุ. ที่แสดงมาแล้ว. 13,0006,020,"ส่วนวิภัตติ ต้องอนุวัตบทนามนามที่กล่าวความกว้างเสมอ, และ" 13,0006,021,"ไม่นิยมคือกำหนดแน่ว่าต้องเป็นวิภัตตินั้นวิภัตตนี้, เมื่อนามนามบทที่"