Book,Page,LineNumber,Text 13,0036,001,ประธานโดยเป็นโยคของ ต ศัพท์ ในอีกพากย์หนึ่งในทางไวยากรณ์ 13,0036,002,เพราะในภาษาบาลีไม่ใช้พากย์เป็นประธาร (หรือเป็นวิเสสน) ตรง ๆ 13,0036,003,ใช้วาง ย-ต (หรือวางไว้แต่ ย) เพื่อให้เล็งความว่าเป็นอย่างนั้น 13,0036,004,ฉะนั้น ในเวลาแปลยกศัพท์ ท่านจึงสอนให้ถอนเอาศัพท์ในพากย์กิริยา- 13,0036,005,ปรามาส มาประกอบเป็นโยคของ ต ศัพท์ ให้เป็นประธานในพากย์ ต 13,0036,006,"ศัพท์, หรือโดยย่อก็ใช้ศัพท์กลาง ๆที่บ่งไปถึงข้อความทั้งหมด ในพากย์" 13,0036,007,กิริยาปรามาสได้ เช่น ปพฺพ เป็นต้น ประกอบให้เป็นบทโยคของ ต 13,0036,008,ศัพท์. อุ.:- 13,0036,009,อุ. ที่ ๑ 13,0036,010,"อิธ โข ตํ ภิกฺขเว โสเภถ, ยํ ตฺมเห เอวํ สฺวากฺขาเต" 13,0036,011,ธมฺมวินเย ปพฺพชิตา สมานา ขมา จ ภาเวยฺยาถ โสรตา จ. 13,0036,012,"[ โกสมฺพิก. ๑/๕๔ ] "" ภิกษุ ท., ท่านทั้งหลายเป็นผู้บวชอยู่ในธรรม-" 13,0036,013,"ิวินัยที่กล่าวเดียวดีแล้วอย่างนี้ พึงเป็นผู้อดทน และเป็นผู้เสงี่ยมใด, ข้อ" 13,0036,014,(ตํ โยค ปพฺพํ หรือ ตุมฺหากํ เอวํ สฺวากฺขาเต ธมฺมวินเย ปพฺพชิตานํ 13,0036,015,สมานานํ ขมโสรตตฺตํ. ความที่แห่งท่าน ท...) นั้น พึงงามในธรรม 13,0036,016,"ิวินัยนี้แล.""" 13,0036,017,ยนฺติ ปทํ ภวเยฺยาถาติ ปเท กิริยาปรามาโส. 13,0036,018,"ข้อว่า ' เป็นประธาน' นั้น พึงเห็นในเวลาแปลตัด ย-ต, ดัง อุ." 13,0036,019,"นั้น แปลตัดว่า ' ภิกษุ ท., ข้อที่ท่าน ท. เป็นผู้บวชอยู่... และเป็นผู้" 13,0036,020,เสงี่ยม พึงงามในธรรมวินัยนี้แล.' ประธานในประโยค คือ คำว่า 13,0036,021,' ข้อที่.....เสงี่ยม' ก็คือประโยค ยํ กิริยาปรามาสนั่นเอง.