|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
09,0013,001,อาภา=ปญฺาภา เอวศัพท์ในวิเคราะห์นี้ ก็เพื่อจะห้ามเสียว่าแสดงสว่าง
|
|
09,0013,002,ในที่นี้คือปัญญานั่งเอง ไม่ใช่แสงประทีปหรือแสงจันทร์แสดงอาทิตย์
|
|
09,0013,003,เป็นต้นเลย ในสมาสนี้ บางครั้งบทสำเร็จอาจมีความหมายคล้ายคลึง
|
|
09,0013,004,กับสมาสอื่น เช่นตัปปุริสะบางอย่าง เช่น ปญฺาภา อาจแปลว่าแสงสว่าง
|
|
09,0013,005,แห่งปัญญาก็ได้ ถ้าแปลว่าแสงสว่างแห่งปัญญา ต้องเป็นฉัฏฐีตัปปปุริสสมาส
|
|
09,0013,006,แต่ผู้ศึกษาพึงสังเกตว่า ศัพท์ที่ต่อกันอยู่สองศัพท์ มีอรรถที่จะเรียก
|
|
09,0013,007,ชื่อแทนกันได้หรือไม่ มีคุณค่าเท่ากันหรือไม่ ถ้าอาจเรียกชื่อแทนกัน
|
|
09,0013,008,ได้ และมีคุณค่าเท่ากัน ก็เป็นอวธานบุพพบท กัมมธารยะ แน่ ถึง
|
|
09,0013,009,แม้จะแปลเป็นรูปสมาสอื่นไปก็ไม่ดีเท่าสมาสนี้ เช่นบทว่า พุทฺธรตนํ
|
|
09,0013,010,ควรแปลเป็นรูปสมาสนี้ว่า คตนะคือพระพุทธเจ้า จะแปลว่า พระพุทธเจ้า
|
|
09,0013,011,เป็นรตนะ ให้เป็นวิเสสนุตตรบทก็พอจะได้ แต่มีผิดนิยมอยู่ที่ลิงค์ไม่
|
|
09,0013,012,เสอมกัน แต่ถ้าแปลเป็นวิกติกัตตาเข้ากับกิริยาว่ามีว่าเป็น ท่านอนุญาต
|
|
09,0013,013,แต่ก็สู้อวธารณะไม่ได้ ฉะนั้น ควรสันนิษฐานว่า ถ้าศัพท์ที่เรียกแทน
|
|
09,0013,014,กันได้มีค่าเท่ากันแล้ว ควรเป็นอวธารณะแท้.
|
|
09,0013,015,วิธีวางวิเคราะห์กัมมธารยะซึ่งเป็นอุทาหรณ์ดังแสดงมานี้ เพื่อ
|
|
09,0013,016,เป็นการสะดอกและง่ายในการศึกษา ส่วนที่นักปราชญ์ใช้ในคัมภีร์
|
|
09,0013,017,ศัพทศาสตร์ ท่านวางไว้เป็นการยืดยาว มี จ ศัพท์ ซึ่งแปลว่า ด้วย
|
|
09,0013,018,มี ต ศัพท์ ซึ่งแปลว่า นั้น อิติ ศัพท์ซึ่งแปลว่า เพราะเหตุนั้น อยู่ด้วย
|
|
09,0013,019,เมื่อเข้าสมาสกันแล้ว จ ศัพท์ ต ศัพท์และอิติศัพท์ ลบทิ้งเสีย ดึง
|
|
09,0013,020,อุ. ในแบบว่า มหนฺโต จ โส ปุริโส จาติ=มหาปุริโศ บุรุษนั้นด้วย เป็นผู้
|
|
09,0013,021,ใหญ่ด้วย เหตุนั้น ชื่อว่าบุรุษผู้ใหญ่ ดังนี้ เป็น อุ. ในวิเสสนบุพพบท
|
|
|