|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
09,0029,001,ที่เป็นกรรมอันเป็นวิเสสนะของประธานในรูปวิเคราะห์นั้น ๆ ถ้า
|
|
09,0029,002,วิเสสนะไม่ใช่กรรมกิริยา ไม่มีผู้ทำ ก็ไม่ต้องนำมาใช้ เช่น อุ. สญฺชาโต
|
|
09,0029,003,สํเวโค ยสฺส โส=สญฺชาตสํเวโค ชโน ชนมีความสังเวชเกิดแล้ว.
|
|
09,0029,004,๔. ปัญจมีพหุพพิหิ
|
|
09,0029,005,สมาสนี้ ย ศัพท์ประกอบด้วยปัญจมีวิภัตติ มีอายตนิบาตว่า แต่
|
|
09,0029,006,"จาก, โดยมาก ตัววิเสสนะในรูปวิเคราะห์มักใช้กิริยากิตก์ ที่จะต้อง"
|
|
09,0029,007,"แปล ย ศัพท์ให้รับกันได้ เช่น ไป, ออก, ตก, เป็นต้น เพื่อให้ความ"
|
|
09,0029,008,"เชื่อมกับ ย ศัพท์ที่เป็นปัญจมีวิภัตติ อันแปลว่า จาก, แต่, ได้สนิท"
|
|
09,0029,009,ดัง อุ. นิคฺคตา ชนา ยสฺมา โส=นิคฺคตชโน คาโม ชน ท. ออก
|
|
09,0029,010,"ไปแล้วจากบ้านใด บ้านนั้นชื่อว่ามีชนออกไปแล้ว, วีโต ราโค ยสฺมา"
|
|
09,0029,011,โส=วีตราโค ภิกฺขุ ราคะไปปราศแล้วจากภิกษุใด ภิกษุนั้นชื่อว่ามี
|
|
09,0029,012,ราคะไปปราศแล้ว. ย ศัพท์ในรูปวิเคราะห์ทั้ง ๒ นี้ เป็นที่ไปปราศ
|
|
09,0029,013,ซึ่งเรียกว่า อปาทาน ในทางสัมพันธ์.
|
|
09,0029,014,๕. ฉัฏฐีพหุพพิหิ
|
|
09,0029,015,"สมาสนี้ ย ศัพท์ประกอบด้วยฉัฏฐีวิภัตติ ใช้อายตนิบาตว่า แห่ง,"
|
|
09,0029,016,"ของ, โดยมาก ย ศัพท์ในรูปวิเคราะห์เป็นเจ้าของแห่งตัวประธานใน"
|
|
09,0029,017,รูปวิเคราะห์นั้น ย ศัพท์เนื่องกับตัวประธาน ไม่เนื่องกับวิเสสนะ ดัง
|
|
09,0029,018,อุ. ขีณา อาสวา ยสฺส โส=ขีณาสโว ภิกฺขุ อาสวะ ท. ของภิกษุ
|
|
09,0029,019,ใดสิ้นแล้ว ภิกษุนั้นชื่อว่ามรอาสวะสิ้นแล้ว. สนฺตํ จิตฺตํ ยสฺส โส=
|
|
09,0029,020,สนฺตจิตฺโต ภิกฺขุ จิตของภิกษุในสงบแล้ว ภิกษุนั้นชื่อว่ามีจิตสงบแล้ว.
|
|
09,0029,021,อีกอย่างหนึ่ง วิเสสนะอยู่หลังตัวประธานก็ได้ เช่น หตฺถา ฉินฺนา
|
|
|