|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
11,0001,001,อธิบายนามกิตก์
|
|
11,0001,002,พระมหานาค อุปนาโค ป. ๙ วัดบรมนิวาส
|
|
11,0001,003,เรียงเรียง
|
|
11,0001,004,คำ <B>กิตก์</B> นี้ เป็นชื่อของศัพท์ที่ท่านประกอบปัจจัยหมู่หนึ่ง
|
|
11,0001,005,ซึ่งเป็นเครื่องกำหนดหมายเนื้อความ ของนามศัพท์ และกิริยาศัพท์ที่
|
|
11,0001,006,ต่าง ๆ กัน. คำว่าศัพท์ในที่นี้ หมายความถึงกิริยาศัพท์ที่เป็นมูลราก
|
|
11,0001,007,คือธาตุ เช่นเดียวกับธาตุในอาขยาต กิริยาศัพท์ที่เป็นมูลรากคือธาตุ
|
|
11,0001,008,เหล่านั้นแหละ ท่านนำมาประกอบกับปัจจัย ซึ่งจัดไว้เป็นหมู่ ๆ เมื่อ
|
|
11,0001,009,ปัจจัยเหล่านั้นเข้าประกอบแล้ว ย่อมเป็นเครื่องกำหนดหมายให้ทราบ
|
|
11,0001,010,เนื้อความได้ว่า ศัพท์ที่ประกอบด้วยปัจจัยเหล่านี้เป็นนามศัพท์และ
|
|
11,0001,011,เป็นกิริยาศัพท์ อันเป็นต่าง ๆ กันด้วยอำนาจปัจจัยนั้น ๆ ศัพท์ต่าง ๆ
|
|
11,0001,012,ที่เป็นธาตุ ซึ่งปัจจัยในกิตก์ปรุงแต่งแล้ว ย่อมสำเร็จรูปเป็น ๒ คือ
|
|
11,0001,013,ศัพท์ที่ปัจจัยอาขยาตปรุงแล้ว ย่อมใช้เป็นกิริยาศัพท์อย่างเดียว และ
|
|
11,0001,014,ใช้ได้เฉพาะเป็นกิริยาหมายพากย์เท่านั้น ส่วนศัพท์ที่ปัจจัยกิตก์ปรุง
|
|
11,0001,015,แล้ว ย่อมใช้เป็นนามศัพท์ คือเป็นนามนามก็ได้ คุณนามก็ได้ และ
|
|
11,0001,016,ใช้เป็นกิริยาศัพท์ คือเป็นกิริยาหมายพากย์ก็ได้ เป็นกิริยาในระหว่าง
|
|
11,0001,017,พากย์ก็ได้.
|
|
|