|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
11,0002,001,"คำว่ากิตก์นี้มีมูลเดิมมาจาก <B>กิร</B> ธาตุ ในความเรี่ยราย, กระจาย"
|
|
11,0002,002,กัตตุรูป กัตตุสาธนะ วิเคราะห์ว่า<B> กิตปจฺจเยน กิรตีติ กิตโก</B> (ศัพท์ใด)
|
|
11,0002,003,ย่อมเรี่ยราย ด้วยปัจจัยกิตก์ เหตุนั้น (ศัพท์นั้น) ชื่อว่ากิตก์.
|
|
11,0002,004,ศัพท์ที่ปัจจัยปรุงแต่งเป็นนามศัพท์
|
|
11,0002,005,ศัพท์ต่าง ๆ ที่ปัจจัยในกิตก์ปรุงให้สำเร็จรูปเป็นนามศัพท์แล้ว
|
|
11,0002,006,นามศัพท์นั้น ๆ ย่อมมีความหมาย แตกต่างกันออกไปตามปัจจัยที่
|
|
11,0002,007,ประกอบนั้น ๆ ไม่ต้องกล่าวถึงศัพท์ที่ประกอบด้วยปัจจัยต่าง ๆ กัน
|
|
11,0002,008,ย่อมมีความหมายผิดแผกแตกต่างกันออกไป แม้ศัพท์เดียวกัน และ
|
|
11,0002,009,ประกอบปัจจัยตัวเดียวกันนั่นเอง ยังมีความหมายแตกต่างออกไป
|
|
11,0002,010,ได้หลายอย่าง แล้วแต่ความมุ่งหมายของปัจจัยที่ประกอบเข้ากับศัพท์
|
|
11,0002,011,จะใช้ความหมายว่ากระไรได้บ้าง ในส่วนรูปที่เป็นนามศัพท์ ดังที่ท่าน
|
|
11,0002,012,ยกศัพท์ว่า <B>ทาน </B>ขึ้นมาเป็นอุทาหรณ์ในแบบนั้น ศัพท์นี้มูลเดิมมาจาก
|
|
11,0002,013,<B>ทา</B> ธาตุ ในความให้ ลง ยุ ปัจจัย แล้วแปลง ยุ เป็น อน ได้รูปเป็น
|
|
11,0002,014,ทาน ถ้าจะให้เป็นรูปศัพท์เดิม ต้องลง สิ ปฐมาวิภัตติ นปุํสกลิงค์
|
|
11,0002,015,ได้รูป ทานํ ศัพท์นี้แหละอาจแปลได้ถึง ๔ นัย คือ :-
|
|
11,0002,016,๑. ถ้าเป็นชื่อของสิ่งของที่จะพึงสละเป็นต้นว่า ข้าว น้ำ เงิน ทอง
|
|
11,0002,017,"ก็ต้องแปลเป็นรูปกัมมสาธนะว่า "" วัตถุอันเขาพึงให้"" แยกรูปออก"
|
|
11,0002,018,ตั้งวิเคราะห์ว่า <B>ทาตพฺพนฺติ ทานํ.</B> [ ยํ วตฺถุ สิ่งใด เตน อันเขา ] พึงให้
|
|
11,0002,019,เหตุนั้น [ ตํ วตฺถุ สิ่งนั้น ] ชื่อว่า <B>ทานํ</B> [ อันเขาพึงให้ ]. เช่นสนคำว่า
|
|
11,0002,020,ทานวตฺถุ สิ่งของอันเขาพึงให้.
|
|
11,0002,021,๒. ถ้าเป็นชื่อของการให้ คือเพ่งถึงกิริยาอาการของผู้ให้ แสดง
|
|
|