|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
11,0029,001,พึงสังเกตในบทนี้สำหรับ วิทฺ ธาตุ ในเวลาตั้งวิเคราะห์ ท่านมัก
|
|
11,0029,002,ใช้ า ธาตุ มี วิ เป็นบทหน้าแทน ซึ่งแปลว่า รู้แจ้ง เหมือนกัน.
|
|
11,0029,003,ปัจจัยนี้เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ และใช้เป็นคุณนามอย่างเดียว
|
|
11,0029,004,นำไปแจกในวิภัตตินามได้ทั้ง ๒ ลิงค์ เปลี่ยนแปลงไปตามตัวนาม
|
|
11,0029,005,นามนั้น ๆ.
|
|
11,0029,006,ณี ปัจจัย
|
|
11,0029,007,ปัจจัยนี้ลงประกอบกับธาตุแล้ว ลบ ณ เสีย เหลือไว้แต่
|
|
11,0029,008,สระ ี และมีอำนาจให้ทีฆะและพฤทธิ์ต้นธาตุที่เป็นรัสสะ เพราะเป็น
|
|
11,0029,009,ปัจจัยที่เนื่องด้วย ณ เมื่อจะกล่าวตามหลักเกณฑ์ของปัจจัยนี้ ก็อาจ
|
|
11,0029,010,จะย่อมกล่าวได้ดังนี้ คือ :-
|
|
11,0029,011,<B>๑. ต้นธาตุเป็นรัสสะ มีอำนาจพฤทธิ์ต้นธาตุได้.
|
|
11,0029,012,๒. ต้นธาตุเป็นทีฆะ หรือ มีตัวสะกด ห้ามมิให้พฤทธิ์.
|
|
11,0029,013,๓. มีอำนาจให้แปลงตัวธาตุ หรือ พยัญชนะที่สุดธาตุได้.
|
|
11,0029,014,๔. ถ้าธาตุมี อา เป็นที่สุด ต้องแปลงเป็น อาย.</B>
|
|
11,0029,015,อนึ่ง ปัจจัยนี้โดยมากใช้ลงในตัสสีลสาธนะ และเป็นสมาสรูป
|
|
11,0029,016,ตัสสีลสาธนะได้ด้วย.
|
|
11,0029,017,๑. <B>พฤทธิ์ต้นธาตุที่เป็นรัสสะ</B> นั้น คือ ถ้าธาตุเป็นรัสสะ เช่น
|
|
11,0029,018,"วทฺ, กรฺ, จรฺ เป็นต้น เมื่อลง ณี ปัจจัยแล้ว ต้องพฤทธิ์ต้นธาตุ เช่น"
|
|
11,0029,019,"พฤทธิ์ อ เป็น อา, อิ เป็น เอ, อุ เป็น อุ หรือเป็น โอ."
|
|
11,0029,020,ก. พฤทธิ์ อ เป็น อา เช่น <B>ปุญฺการี</B> ปฺุ (บุญ) บทหน้า
|
|
11,0029,021,กรฺ ธาตุ ลง ณี ลบ ณ เสียคงไว้แต่ ี แล้วพฤทธิ์ อ เป็น อา ตั้ง
|
|
|