|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
13,0026,001,าณสฺส อตฺโถ โคจโรติ <B>ปรมตฺโถ</B>. [ อภิ. วิ. ปมปริจฺเฉท. น.
|
|
13,0026,002,"๖๖] ""อรรถอย่างยิ่ง (คือ) สูงสุด (คือ) ไม่วิปริต, อีกอย่างหนึ่ง"
|
|
13,0026,003,อรรถ (คือ) โคจร แห่งญาณอย่างยิ่ง (คือ) สูงสุด เพราะเหตุนั้น
|
|
13,0026,004,"ชื่อปรมัตถะ."" "
|
|
13,0026,005,โยชนา [ ๑/๑๗๐ ] ว่า ปรมตฺโถติ (ปทํ) ลิงฺคตโถ.
|
|
13,0026,006,อุ. ที่ ๒
|
|
13,0026,007,ตสฺส ภาโว เอกคฺคตา สมาธิ. [อภิ. วิ. ปมปริจฺเฉท.
|
|
13,0026,008,"น. ๘๖ ] "" ภาวะแห่งเอกัคคจิตนั้น ชื่อ เอกัคคตา คือ สมาธิ."""
|
|
13,0026,009,โยชนา [ ๑/๔๒๒ ] ว่า ภาโว เอกคฺคตา สมาธีติ ปทตฺตยํ
|
|
13,0026,010,ลิงฺคตฺโถ.
|
|
13,0026,011,"ข้อสังเกต : บทปลงทั่วไป แปลนำว่า ชื่อ."" คำนี้ใช้เสริม"
|
|
13,0026,012,ความก็มี ฉะนั้น ในที่ไม่ใช่สัญญา และใช้คำว่าชื่อ พึงทราบว่า
|
|
13,0026,013,ใช้เป็นคำเสริมความ.
|
|
13,0026,014,สัญญี-สัญญานี้ มีลักษณะกลับกันกับสรูป (สรูปวิเสสนะ) และ
|
|
13,0026,015,"้ถ้าเพ่งความกลับกัน สรูปก็กลายเป็นสัญญี-สัญญา, สัญญี-สัญญา"
|
|
13,0026,016,ก็กลายเป็นสรูป. ดังตัวอย่างในสรูปว่า จิตฺตสฺส อาลมฺพิตุกามตามตฺตํ
|
|
13,0026,017,ฉนฺโท ถ้าเพ่งความว่า กิริยาสักว่าความที่แห่งจิตใคร่เพื่อหน่วง
|
|
13,0026,018,"ชื่อว่าฉันทะ อาลมฺพิตุกามตามตฺตํ ก็เป็นสัญญี, ฉนฺโท ก็เป็นสัญญา."
|
|
13,0026,019,หรือดังตัวอย่างในสัญญี-สัญญา นี้ว่า จินฺตนมตฺตํ จิตฺตํ ถ้าเพ่งความ
|
|
13,0026,020,ว่า จิต คือสิ่ง (คือธรรมชาต) มาตรว่าคิด จินฺตนมตฺตํ ก็เป็น
|
|
13,0026,021,"บทสรูปของ จิตฺตํ, จิตฺตํ ก็เป็นลิงคัตถะ."
|
|
|