buddhist-theology / 11 /110014.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
11,0014,001,"รูปออกตั้ง วิ. ว่า <B>ติฏฺ€ยเต-ติ €านํ,</B> (เตน อันเขา) ย่อมยืน เหตุนั้น"
11,0014,002,ชื่อว่า ความยืน.
11,0014,003,<B>นิสชฺชา </B>เป็น นิ บทหน้า สิทฺ ธาตุ ในความจม ลง ณฺย ปัจจัย
11,0014,004,ลบ ณ แห่ง ณฺย เสียแล้วแปลงที่สุดธาตุคือ ทฺ กับ ย เป็น ชฺช เป็น
11,0014,005,"รูปอิตถีลิงค์ แยกรูปออกตั้ง วิ. ว่า <B>นิสีทยเต-ติ นิสชฺชา</B>, (เตน อัน"
11,0014,006,เขา) ย่อมนั่ง เหตุนั้น ชื่อว่า ความนั่ง.
11,0014,007,<B>สยนํ </B>เป็น สี ธาตุ ลง ยุ ปัจจัย แล้วแปลง ยุ เป็น อน พฤทธิ์
11,0014,008,อี ที่ สี เป็น เอ แล้วเอาเป็น อย แยกรูปออกตั้ง วิ. ว่า <B>สยเต-ติ สยนํ</B>
11,0014,009,(เตน อันเขา) ย่อมนอน เหตุนั้น ชื่อว่า ความนอน.
11,0014,010,สำหรับรูปวิเคราะห์ในภาวสาธนะนี้ ตั้งได้ ๓ วิธี คือ :-
11,0014,011,<B>ใช้ประกอบเป็นกิริยาอาขยาต เป็นรูปภาววาจก ๑
11,0014,012,ใช้ปรกอบเป็นนามกิตก์ เป็นรูปภาวสาธนะ ๑
11,0014,013,ใช้ประกอบเป็นกิริยากิตก์ เป็นรูปภาววาจก ๑</B>
11,0014,014,สำหรับรูปวิเคราะห์ ที่เป็นกิริยาอาขยาต พึงดูตัวอย่างข้างต้น
11,0014,015,ส่วนรูปวิเคราะห์ที่ใช้ประกอบเป็นนามกิตก์ มักใช้คงรูปตามเดิม เช่น
11,0014,016,คมนํ ตั้ง วิ. ว่า <B>คมนํ คมนํ.</B> ความไป ชื่อว่า <B>คมนํ</B> (ความไป).
11,0014,017,<B>€านํ</B> ตั้ง วิ. ว่า<B> €านํ €านํ.</B> ความยืน ชื่อว่า <B>€านํ </B> (ความยืน).
11,0014,018,<B>นิสชฺชา</B> ตั้ง วิ. ว่า <B>นิสชฺชา นิสชฺชา.</B> ความนั่ง ชื่อว่า <B>นิสชฺชา</B>
11,0014,019,(ความนั่ง) หรือจะให้ประกอบ ยุ ปัจจัย ตั้ง วิ. ว่า <B>นิสีทนํ นิสชฺชา</B>
11,0014,020,ดังนี้ก็ได้ แล้วแต่จะเห็นควร.