|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
11,0026,001,วิเคราะห์ คือแยกให้เห็นรูปเดิมของศัพท์นั้น ๆ เสียก่อน จึงจะ
|
|
11,0026,002,สำเร็จรูปเป็นสาธนะได้ ทั้งที่เป็นนามนามและคุณนาม เพราะฉะนั้น
|
|
11,0026,003,ปัจจัยทั้ง ๓ พวกดังที่กล่าวมาแล้ว ซึ่งทานจัดไว้เป็นเครื่องหมายรูป
|
|
11,0026,004,และสาธนะนั้น จึงจำต้องมีการตั้งวิเคราะห์ด้วยกันทุกตัว ตามหน้าที่
|
|
11,0026,005,และอำนาจที่ปัจจัยนั้น ๆ จะพึงมีได้อย่างไร ซึ่งจะได้แสดงดังต่อไป
|
|
11,0026,006,นี้:-
|
|
11,0026,007,วิเคราะห์ในเกิดปัจจัย
|
|
11,0026,008,กฺวิ ปัจจัย
|
|
11,0026,009,ปัจจัยตัวนี้ เมื่อลงประกอบกับธาตุแล้ว โดยมากมักลงทิ้งเสีย
|
|
11,0026,010,ไม่ปรากฏรูปให้เห็น จึงเป็นการยากที่จะสังเกตได้ แต่ก็มีหลักพอที่
|
|
11,0026,011,จะกำหนดรู้ได้บ้าง คือ :-
|
|
11,0026,012,<B>๑. ใช้ลงในธาตุที่มีบทอื่นนำหน้าเสมอ.
|
|
11,0026,013,๒. ถ้าลงในธาตุตัวเดียวคงไว้ ไม่ลบธาตุ.
|
|
11,0026,014,๓. ถ้าลงในธาตุสองตัวขึ้นไป ลบที่สุดธาตุ.
|
|
11,0026,015,๔. เฉพาะ วิทฺ ธาตุ ไม่ลบที่สุดธาตุ แต่ต้องลง อู อาคม</B>
|
|
11,0026,016,๑. ที่ว่า <B>ใช้ลงในธาตุที่มีบทอื่นนำหน้าเสมอ</B> นั้น หมายความ
|
|
11,0026,017,ว่า ธาตุที่จะใช้ลงปัจจัยนี้ ต้องมีศัพท์อื่นเป็นบทหน้าของธาตุ คือเป็น
|
|
11,0026,018,นามนามบ้าง คุณนามบ้าง สัพพนามบ้าง อุปสัคบ้าง นิบาตบ้าง.
|
|
11,0026,019,ก. นามนามเป็นบทหน้า เช่น <B>ภุชโค</B> สัตว์ไปด้วยขนด
|
|
11,0026,020,(พญานาค ) ภุช บทหน้า คมฺ ธาตุ ลง กฺวิ และลบที่สุดธาตุเสีย
|
|
|