|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
13,0042,001,"บทประธานได้ (กิริยาอนฺต มาน ปัจจัย), และเรียกบทประธานว่า"
|
|
13,0042,002,ลิงคัตถะ. แต่ในที่นี้กิริยา ตฺวา ปัจจัย ที่วางไว้ในที่สุด ไม่เป็น
|
|
13,0042,003,วิเสสนะของบทประธาน เพราะโดยรูปก็เป็นรูปของพากย์นั่นเอง แต่
|
|
13,0042,004,"แทนที่จะวางกิริยาในพากย์ไว้ในที่สุด กลับวางกิริยา ตฺวา ปัจจัยไว้,"
|
|
13,0042,005,น่าจะเป็นเพราะเหตุนี้ จึงต้องตั้งชื่อบทกิริยานั้นใหม่ว่า กิริยาปธานนัย
|
|
13,0042,006,"คือจัดเป็นกิริยาที่เป็นประธาน คือกิริยาใหญ่, ส่วนบทประธานซึ่ง"
|
|
13,0042,007,เป็นกัตตา เรียกชื่อเหมือนกัตตาในกิริยาในพากย์ และน่าจัดเป็นชั้น
|
|
13,0042,008,พากยางค์ ชนิดที่เป็นตอนหนึ่งจากพากย์ (ไม่ใช่ตอนหนึ่ง ๆ ของ
|
|
13,0042,009,พากย์) เพราะตั้งเป็นประโยคของตนต่างหาก เช่นเดียวกับพากยางค์
|
|
13,0042,010,ลิงคัตถะ.
|
|
13,0042,011,[ ๒ ] เพราะเหตุไร ท่านจึงวางกิริยา ตฺวา ปัจจัย ไว้ในที่สุด
|
|
13,0042,012,"ข้อความ, ปัญหานี้ตอนได้จากการสังเกตตัวอย่างที่ท่านใช้, กล่าวโดยย่อ"
|
|
13,0042,013,ว่า ท่านใช้ในข้อความที่กล่าวรวม ๆ แยก ๆ ซึ่งจะต้องแบ่งประโยค
|
|
13,0042,014,ออกเป็นหลายท่อน น่าเป็นเพราะเหตุนี้ จึงวางกิริยา ตฺวา ปัจจัยไว้
|
|
13,0042,015,"ในที่สุดข้อความของท่อนที่กล่าวรวม หรือกล่าวแยก, ซึ่งในท่อนที่สุด"
|
|
13,0042,016,ก็คงใช้กิริยาในพากย์นั่นเอง. ท่อนที่วางกิริยา ตฺวา ปัจจัยไว้ในที่สุดนั้น
|
|
13,0042,017,จึงเป็นเหมือนอนุประโยค.
|
|
13,0042,018,[ ๓ ] ในข้อความที่กล่าวรวม ๆ แยก ๆ นั้นวางกิริยา ตฺวา ปัจจัย
|
|
13,0042,019,ไว้ ในตอนไหน สังเกตได้จากที่ท่านใช้ดังต่อไปนี้ :-
|
|
13,0042,020,<B>ก. รวม - แยก:</B> ในข้อความหลายท่อน ท่อนต้นกล่าวรวม
|
|
13,0042,021,"ท่อนหลังกล่าวแยก, วางกิริยา ตฺวา ปัจจัยไว้ในที่สุดของท่อนที่กล่าว"
|
|
|