question_id
int32
1
4k
article_id
int32
665
954k
context
stringlengths
75
87.2k
question
stringlengths
11
135
answers
sequence
3,549
480,601
คาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนีย คาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนีย () หรือ คาบสมุทรกาลีฟอร์เนีย () เป็นคาบสมุทรทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเม็กซิโก อยู่ระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับอ่าวกาลีฟอร์เนีย คาบสมุทรมีความยาว 1,247 กม. (775 ไมล์) เริ่มตั้งแต่เมืองเมคีกาลีของรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียทางตอนเหนือ ไปถึงเมืองกาโบซานลูกัสของรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียซูร์ทางใต้ คาบสมุทรมีพื้นที่ 143,390 ตร.กม. (55,360 ตร.ไมล์) โดยถูกแยกออกจากแผ่นดินใหญ่ของเม็กซิโกโดยอ่าวแคลิฟอร์เนียและแม่น้ำโคโลราโด คาบสมุทรนี้ยังมีทะเลทรายขนาดใหญ่ 4 แห่ง
คาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนียมีพื้นที่กี่ตารางกิโลเมตร
{ "answer": [ "143,390" ], "answer_begin_position": [ 451 ], "answer_end_position": [ 458 ] }
3,550
335,556
ภูเขาไฟซีนาบุง ภูเขาไฟซีนาบุง () เป็นภูเขาไฟในสุมาตราเหนือ ประเทศอินโดนีเซีย การไหลของลาวาที่เย็นตัวแล้วด้านข้างของภูเขา การปะทุครั้งล่าสุดก่อนหน้า พ.ศ. 2553 เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2143 กิจกรรมโซลฟาเทริค (รอยแยกที่ปล่อยไอน้ำ แก๊ส และลาวา) ได้รับการบันทึกครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2455 แต่ไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวได้รับการบันทึกอีกจนกระทั่งการปะทุในช่วงเช้าของวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2553 จากการปะทุในปี พ.ศ. 2553 ซีนาบุงเป็นหนึ่งในภูเขาไฟที่สงบไปนานแล้วกลับปะทุขึ้นอีก เช่นเดียวกับภูเขาไฟอีกหลายลูกทั่วโลก เช่น ภูเขาไฟโฟร์พีค ในรัฐอะแลสกา ซึ่งได้ปะทุขึ้นเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมาการปะทุ พ.ศ. 2553 การปะทุ พ.ศ. 2553. เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ซีนาบุงได้เกิดการปะทุขนาดย่อมขึ้นก่อนหน้าวันดังกล่าว การปะทุได้พ่นเอาเถ้าถ่านลอยสูงขึ้นไปในชั้นบรรยากาศกว่า 1.5 กิโลเมตร และลาวาได้ไหลทะลักออกมาจากปล่องภูเขาไฟ ภูเขาไฟซีนาบุงสงบมาเป็นเวลาหลายศตวรรษ โดยการปะทุครั้งล่าสุดเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2143 เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ชาวบ้านจำนวน 6,000 จาก 30,000 คนที่ถูกอพยพออกไปจากพื้นที่เมื่อเกิดการปะทุ ได้ย้ายกลับเข้าอาศัยที่เดิม ซีนาบุงเป็นภูเขาไฟที่ถูกจัดอยู่ในหมวดหมู่ "B" ซึ่งหมายความว่าไม่มีความจำเป็นจะต้องเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง (แตกต่างจากหมวดหมู่ "A" ที่ต้องเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง)
ภูเขาไฟซีนาบุงเป็นภูเขาไฟที่อยู่ในประเทศอะไร
{ "answer": [ "อินโดนีเซีย" ], "answer_begin_position": [ 154 ], "answer_end_position": [ 165 ] }
3,551
335,556
ภูเขาไฟซีนาบุง ภูเขาไฟซีนาบุง () เป็นภูเขาไฟในสุมาตราเหนือ ประเทศอินโดนีเซีย การไหลของลาวาที่เย็นตัวแล้วด้านข้างของภูเขา การปะทุครั้งล่าสุดก่อนหน้า พ.ศ. 2553 เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2143 กิจกรรมโซลฟาเทริค (รอยแยกที่ปล่อยไอน้ำ แก๊ส และลาวา) ได้รับการบันทึกครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2455 แต่ไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวได้รับการบันทึกอีกจนกระทั่งการปะทุในช่วงเช้าของวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2553 จากการปะทุในปี พ.ศ. 2553 ซีนาบุงเป็นหนึ่งในภูเขาไฟที่สงบไปนานแล้วกลับปะทุขึ้นอีก เช่นเดียวกับภูเขาไฟอีกหลายลูกทั่วโลก เช่น ภูเขาไฟโฟร์พีค ในรัฐอะแลสกา ซึ่งได้ปะทุขึ้นเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมาการปะทุ พ.ศ. 2553 การปะทุ พ.ศ. 2553. เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ซีนาบุงได้เกิดการปะทุขนาดย่อมขึ้นก่อนหน้าวันดังกล่าว การปะทุได้พ่นเอาเถ้าถ่านลอยสูงขึ้นไปในชั้นบรรยากาศกว่า 1.5 กิโลเมตร และลาวาได้ไหลทะลักออกมาจากปล่องภูเขาไฟ ภูเขาไฟซีนาบุงสงบมาเป็นเวลาหลายศตวรรษ โดยการปะทุครั้งล่าสุดเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2143 เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ชาวบ้านจำนวน 6,000 จาก 30,000 คนที่ถูกอพยพออกไปจากพื้นที่เมื่อเกิดการปะทุ ได้ย้ายกลับเข้าอาศัยที่เดิม ซีนาบุงเป็นภูเขาไฟที่ถูกจัดอยู่ในหมวดหมู่ "B" ซึ่งหมายความว่าไม่มีความจำเป็นจะต้องเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง (แตกต่างจากหมวดหมู่ "A" ที่ต้องเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง)
ภูเขาไฟซีนาบุงปะทุครั้งล่าสุดเมื่อปี พ.ศ. ใด
{ "answer": [ "2553" ], "answer_begin_position": [ 459 ], "answer_end_position": [ 463 ] }
3,552
543,739
กริช กงเพชร กริช กงเพชร (เกิด 30 กันยายน พ.ศ. 2486) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม 9 สมัยประวัติ ประวัติ. กริช กงเพชร เกิดเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2486 เป็นบุตรของนายเคน และ นางแต้ม กงเพชร สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี การศึกษาบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปริญญาโท จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์งานการเมือง งานการเมือง. อดีตเคยเป็นทนายความ ก่อนที่จะมาลงรับสมัครเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม และได้รับเลือกตั้งเป็นครั้งแรก ใน พ.ศ. 2519 แต่ในครั้งต่อมา (พ.ศ. 2522) ไม่ได้รับเลือกตั้ง และกลับมาได้รับเลือกตั้งอีกครั้งใน พ.ศ. 2526 และได้รับเลือกเรื่อยมา จนถึง พ.ศ. 2548 เป็นสมัยล่าสุด ต่อจากนั้นเขาได้ย้ายมาสังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน และมีตำแหน่งเป็นรองหัวหน้าพรรค รวมทั้งลงสมัครรับเลือกตั้งในนามพรรคเพื่อแผ่นดิน แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง กริช กงเพชร เคยได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ซึ่งขณะนั้นเขาสังกัดพรรคความหวังใหม่ กริช กงเพชร เคยเป็นรองเลขาธิการพรรคประชาชน ในปี พ.ศ. 2531 ในปี พ.ศ. 2561 เขาได้ร่วมกับนักการเมืองหลายคนในการจัดตั้งพรรคการเมืองในชื่อพรรคพลังพลเมืองไทยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. กริช กงเพชร ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว 9 สมัย คือ1. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ 2. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ 3. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ 4. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคความหวังใหม่ 5. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคความหวังใหม่ 6. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคความหวังใหม่ 7. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคความหวังใหม่ 8. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคไทยรักไทย 9. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคไทยรักไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2539 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาประมาภรณ์ช้างเผือก
กริช กงเพชรเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดใด
{ "answer": [ "มหาสารคาม" ], "answer_begin_position": [ 247 ], "answer_end_position": [ 256 ] }
3,553
543,739
กริช กงเพชร กริช กงเพชร (เกิด 30 กันยายน พ.ศ. 2486) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม 9 สมัยประวัติ ประวัติ. กริช กงเพชร เกิดเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2486 เป็นบุตรของนายเคน และ นางแต้ม กงเพชร สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี การศึกษาบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปริญญาโท จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์งานการเมือง งานการเมือง. อดีตเคยเป็นทนายความ ก่อนที่จะมาลงรับสมัครเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม และได้รับเลือกตั้งเป็นครั้งแรก ใน พ.ศ. 2519 แต่ในครั้งต่อมา (พ.ศ. 2522) ไม่ได้รับเลือกตั้ง และกลับมาได้รับเลือกตั้งอีกครั้งใน พ.ศ. 2526 และได้รับเลือกเรื่อยมา จนถึง พ.ศ. 2548 เป็นสมัยล่าสุด ต่อจากนั้นเขาได้ย้ายมาสังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน และมีตำแหน่งเป็นรองหัวหน้าพรรค รวมทั้งลงสมัครรับเลือกตั้งในนามพรรคเพื่อแผ่นดิน แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง กริช กงเพชร เคยได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ซึ่งขณะนั้นเขาสังกัดพรรคความหวังใหม่ กริช กงเพชร เคยเป็นรองเลขาธิการพรรคประชาชน ในปี พ.ศ. 2531 ในปี พ.ศ. 2561 เขาได้ร่วมกับนักการเมืองหลายคนในการจัดตั้งพรรคการเมืองในชื่อพรรคพลังพลเมืองไทยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. กริช กงเพชร ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว 9 สมัย คือ1. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ 2. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ 3. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ 4. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคความหวังใหม่ 5. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคความหวังใหม่ 6. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคความหวังใหม่ 7. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคความหวังใหม่ 8. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคไทยรักไทย 9. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคไทยรักไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2539 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาประมาภรณ์ช้างเผือก
ก่อนที่กริช กงเพชร จะลงเล่นการเมือง เขาเคยทำอาชีพใดมาก่อน
{ "answer": [ "ทนายความ" ], "answer_begin_position": [ 551 ], "answer_end_position": [ 559 ] }
3,554
9,147
ถนนเจริญกรุง ถนนเจริญกรุง () ถนนสายสำคัญสายหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นตั้งแต่ถนนสนามไชยบริเวณวงเวียน รด. หน้าหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน สิ้นสุดที่แม่น้ำเจ้าพระยาที่ถนนตก บริเวณโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ และการไฟฟ้านครหลวง เขตยานวานา เป็นถนนรุ่นแรกที่ใช้เทคนิคการสร้างแบบตะวันตก ผ่านพื้นที่เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตสัมพันธวงศ์, เขตบางรัก, เขตสาทร และเขตบางคอแหลม และเป็นเส้นแบ่งของเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย (ด้านซ้าย) กับเขตสัมพันธวงศ์ (ด้านขวา) ตั้งแต่ช่วงคลองถมไปจนถึงบริเวณแยกหมอมี ถนนเจริญกรุงเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2405 แล้วเสร็จใน พ.ศ. 2407 มีความยาวจากถนนสนามไชยถึงดาวคะนอง 8,575 เมตร การก่อสร้างถนนเจริญกรุงนั้นเนื่องจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีชาวต่างประเทศเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯ มากขึ้น และมีพวกกงสุลได้เข้าชื่อกันขอให้สร้างถนนสายยาวสำหรับขี่ม้าหรือนั่งรถม้าตากอากาศและอ้างว่า “เข้ามาอยู่ที่กรุงเทพมหานครไม่มีถนนหนทางที่จะขี่รถม้าไปเที่ยว พากันเจ็บไข้เนือง ๆ” ในปีระกา พ.ศ. 2404 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค ต่อมาคือ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ที่สมุหพระกลาโหมเป็นแม่กอง พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมืองเป็นนายงาน รับผิดชอบในการก่อสร้างถนนช่วงตั้งแต่คูเมืองชั้นในถึงถนนตกริมแม่น้ำเจ้าพระยาที่ตำบลบางคอแหลม เรียกว่าถนนเจริญกรุงตอนใต้ (แต่ชาวบ้านมักเรียกว่าเจริญกรุงตอนล่าง) กว้าง 5 วา 4 ศอก (ประมาณ 10 เมตร หรือเทียบได้กับถนน 4 เลน) โดยมีนายเฮนรี อาลาบาศเตอร์ (ต้นสกุลเศวตศิลา) เป็นผู้สำรวจแนวถนนและเขียนแผนผังถนน และในปีจอ พ.ศ. 2405 โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) เป็นแม่กอง พระยาบรรหารบริรักษ์ (สุ่น) เป็นนายงาน รับผิดชอบการก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนใน คือช่วงระยะทางตั้งแต่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (วัดโพธิ์) ถึงสะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็กบน) กว้าง 4 วา โดยสร้างเป็นถนนดินอัด เอาอิฐเรียงตะแคงปูให้ชิดกัน ตรงกลางนูนสูง เมื่อถูกฝนไม่กี่ปีก็ชำรุด การก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนในนี้เดิมกำหนดให้ตัดตรงจากสะพานดำรงสถิต ถึงกำแพงเมืองด้านถนนสนามไชย แต่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทักท้วงว่าการสร้างถนนตรงมาสู่พระบรมมหาราชวังอาจเป็นชัยภูมิให้ข้าศึกใช้ตั้งปืนใหญ่ยิงทำลายกำแพงเมืองได้ จึงต้องเปลี่ยนแนวถนนมาหักมุมเลี้ยวตรงเชิงสะพานดำรงสถิต เมื่อสร้างถนนเจริญกรุงเสร็จใหม่ ๆ นั้น ยังไม่ได้พระราชทานนาม จึงเรียกกันทั่วไปว่า ถนนใหม่ และชาวยุโรปเรียกว่า นิวโรด (New Road) ชาวจีนเรียกตามสำเนียงแต้จิ๋วว่า ซิงพะโล่ว () แปลว่าถนนตัดใหม่ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามถนนว่า "ถนนเจริญกรุง" ซึ่งมีความหมายถึงความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง เช่นเดียวกับชื่อถนนบำรุงเมืองและถนนเฟื่องนคร ที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นในคราวเดียวกัน
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯให้สร้างถนนเจริญกรุงเมื่อปี พ.ศ. ใด
{ "answer": [ "2405" ], "answer_begin_position": [ 692 ], "answer_end_position": [ 696 ] }
3,555
944,951
พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายแฮร์รีกับเมแกน มาร์เกิล พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายแฮร์รีกับเมแกน มาร์เกิล มีขึ้นเมื่อวันเสาร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ณ โบสถ์เซนต์จอร์จ ภายในพระราชวังวินด์เซอร์ โดยเป็นพระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายแฮร์รี ผู้สืบราชบัลลังก์ลำดับที่หกแห่งสหราชอาณาจักร และเมแกน มาร์เกิล อดีตนักแสดงชาวอเมริกัน
พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายแฮร์รีกับเมแกน มาร์เกิล มีขึ้นเมื่อใด
{ "answer": [ "19 พฤษภาคม พ.ศ. 2561" ], "answer_begin_position": [ 262 ], "answer_end_position": [ 282 ] }
3,556
944,951
พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายแฮร์รีกับเมแกน มาร์เกิล พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายแฮร์รีกับเมแกน มาร์เกิล มีขึ้นเมื่อวันเสาร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ณ โบสถ์เซนต์จอร์จ ภายในพระราชวังวินด์เซอร์ โดยเป็นพระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายแฮร์รี ผู้สืบราชบัลลังก์ลำดับที่หกแห่งสหราชอาณาจักร และเมแกน มาร์เกิล อดีตนักแสดงชาวอเมริกัน
พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายแฮร์รีกับเมแกน มาร์เกิล จัดขึ้นที่โบสถ์ไหน
{ "answer": [ "โบสถ์เซนต์จอร์จ" ], "answer_begin_position": [ 285 ], "answer_end_position": [ 300 ] }
3,557
285,268
คิตะงะวะ อุตะมะโระ คิตะงะวะ อุตะมะโระ () (ราว ค.ศ. 1753 - 31 ตุลาคม ค.ศ. 1806) เป็นช่างพิมพ์แกะไม้แบบอุกิโยะชาวญี่ปุ่นของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพศึกษาสตรีแบบที่เรียกว่า “บิจิงะ” นอกจากนั้นก็ยังเขียนภาพธรรมชาติ โดยเฉพาะงานเขียนภาพประกอบของแมลง งานของอุตะมะโระไปถึงยุโรปราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 และกลายเป็นงานที่เป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายโดยเฉพาะในฝรั่งเศส และเป็นงานที่มีอิทธิพลต่อศิลปะอิมเพรสชันนิสม์ของยุโรป โดยเฉพาะในการเขียนภาพเฉพาะบางส่วนและในการเน้นแสงและเงา เมื่อบรรดาจิตรกรกล่าวถึง “อิทธิพลจากญี่ปุ่น” ก็มักจะหมายถึงอิทธิพลจากงานเขียนของอุตะมะโระประวัติ ประวัติ. รายละเอียดของชีวิตของอุตะมะโระมีเพียงจำกัด และเท่าที่มีอยู่แต่ละฉบับก็มีข้อมูลเกี่ยวกับชีวิตและอาชีพที่แตกต่างกันออกไป หลักฐานหลายหลักฐานอ้างว่าอุตะมะโระถ้าไม่เกิดที่เอะโดะ (โตเกียว) ก็จะเป็นที่เกียวโต หรือไม่ก็โอซะกะ (เมืองหลักสามเมืองของญี่ปุ่น) หรือไม่เช่นนั้นก็ในเมืองที่ห่างไกลออกไปแต่ก็ไม่มีผู้ใดทราบว่าเป็นที่ใด วันปีเกิดที่แท้จริงก็ไม่มีหลักฐานที่แน่นอน แต่ประมาณกันว่าราว ค.ศ. 1753 ความเชื่อกันมานานอีกอันหนึ่งคืออุตะมะโระเกิดที่โยชิวาระซึ่งเป็นบริเวณของสตรีในราชสำนักของเอะโดะ เป็นลูกชายชองเจ้าของร้านน้ำชา แต่ก็ไม่มีหลักฐานสนับสนุนข้อที่ว่านี้ ชื่อเมื่อเกิดของอุตะมะโระคือ “Kitagawa Ichitarō” ต่อมาเมื่อเติบโตขึ้นก็เปลี่ยนชื่อเป็น “Ichitarō Yusuke” ตามธรรมเนียมที่ปฏิบัติกันในขณะนั้น อุตะมะโระสมรสแต่ก็ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับภรรยาหรือลูก แต่งานเขียนของอุตะมะโระมีภาพของความใกล้ชิดหรือความอ่อนโยนภายในที่อยู่อาศัยของสตรีและเด็กคนเดียวกันอยู่เป็นเวลาหลายปี โดยทั่วไปแล้วก็เชื่อกันว่าเมื่อยังเป็นเด็กอุตะมะโระก็ไปเป็นลูกศิษย์ของจิตรกรโตริยะมะ เซกิเอ็ง และข้อมูลบางแหล่งเชื่อว่าอุตะมะโระอาจจะเป็นบุตรของโตริยะมะ เซกิเอ็งด้วยก็เป็นได้ แต่ที่ทราบคืออุตะมะโระพำนักอยู่ในบ้านของโตริยะมะ เซกิเอ็งขณะที่เติบโตขึ้นมา และความสัมพันธ์ระหว่างจิตรกรสองคนนี้ก็ดำเนินต่อมาจนกระทั่งเซกิเอ็งเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1788 เซกิเอ็งเดิมได้รับการฝึกหัดที่โรงเรียนคาโน แต่เมื่อมีอายุในวัยกลางคนเซกิเอ็งก็หันไปหาการวาดภาพอุกิโยะซึ่งเป็นภาพประเภทหนึ่งของภาพพิมพ์แกะไม้ เซกิเอ็งมีลูกศิษย์หลายคนแต่ก็ไม่มีผู้ใดที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก ในปี ค.ศ. 1775 เมื่ออายุได้ราว 22 ปีอุตะมะโระก็สร้างงานชิ้นสำคัญชิ้นแรกเท่าที่ทราบ เป็นหน้าปกสำหรับละครคะบุกิโดยใช้ชื่อศิลปิน หรือ โก (Art-name) ว่า “โตโยะอะกิ” (Toyoaki) หลังจากนั้นอุตะมะโระก็สร้างงานภาพพิมพ์สำหรับนักแสดงและนักรบ, โปรแกรมละคร และ ภาพอื่นๆ ในทำนองเดียวกัน ต้งแต่ฤดูใบไม้ผลิของปี ค.ศ. 1781 อุตะมะโระก็เปลี่ยน “โก” ใหม่เป็น “อุตะมะโระ” และเริ่มออกแบบภาพพิมพ์แกะไม้ของสตรี แต่งานในระยะแรกไม่ถือว่ามีคุณภาพดีเท่าใดนัก ระหว่างกลางคริสต์ทศวรรษ 1780 ซึ่งอาจจะราว ค.ศ. 1783 อุตะมะโระก็ไปอยู่กับผู้พิมพ์ที่เพิ่งเริ่มมีชื่อเสียงขึ้นมาสึตะยะ จูซะบุโร เชื่อว่าราวห้าปีและดูเหมือนว่าจะกลายเป็นศิลปินเอกของสำนักพิมพ์ จากหลักฐานก็ดูเหมือนว่าจะผลิตงานอย่างไม่ค่อยสม่ำเสมอนัก ที่เป็นภาพประกอบหนังสือ “เกียวกะ” (kyoka) หรือ “crazy verse” ซึ่งเป็นบทเขียนล้อกวีนิพนธ์คลาสสิกแบบ “วะกะ” (Waka) แต่งานในช่วง ค.ศ. 1790 ถึง ค.ศ. 1792 ไม่มีหลงเหลืออยู่ให้เห็น ราว ค.ศ. 1791 อุตะมะโระก็เลิกออกแบบงานพิมพ์สำหรับหนังสือ และหันไปตั้งใจเขียนภาพเหมือนสตรีครึ่งตัว แทนที่จะเป็นภาพสตรีเป็นกลุ่มซึ่งนิยมเขียนกันโดยศิลปินอุกิโยะคนอื่นๆ ในปี ค.ศ. 1793 ชื่อเสียงของอุตะมะโระก็เริ่มเป็นที่รู้จัก ความสัมพันธ์กับสำนักพิมพ์กึ่งเฉพาะกับสึตะยะ จูซะบุโรก็มาสิ้นสุดลง และเริ่มผลิตงานชุดหลายชุดที่มีชื่อเสียงที่เป็นภาพวาดของสตรีในแขวงโยะชิวะระทั้งหมด ในปีต่อๆ มาอุตะมะโระเขียนงานหลายเล่มที่เป็นภาพสัตว์, แมลง และภาพศึกษาธรรมชาติ และ “ชุงกะ” (shunga) หรือ “ภาพยวนอารมณ์ทางเพศ” ภาพประเภท “ชุงกะ” เป็นภาพที่เป็นที่ยอมรับกันในวัฒนธรรมญี่ปุ่นว่าเป็นส่วนหนึ่งของพฤติกรรมของมนุษย์อันเป็นธรรมชาติ และไม่ถือว่าเป็นภาพลามกเช่นในวัฒนธรรมตะวันตก และเป็นภาพที่แพร่หลายในทุกระดับชั้นของสังคมญี่ปุ่น ในปี ค.ศ. 1797 สึตะยะ จูซะบุโรมาเสียชีวิตลง และดูเหมือนว่าสร้างความสะเทือนใจให้แก่อุตะมะโระที่ต้องมาสูญเสียเพื่อนและผู้สนับสนุนที่รู้จักกันมานาน บางความเห็นกล่าวว่าตั้งแต่บัดนั้นผลงานก็ไม่เคยขึ้นถึงขั้นที่เคยเขียนมาก่อนหน้านั้น ในปี ค.ศ. 1804 เมื่ออยู่ในจุดที่ประสบความสำเร็จสูงสุดอุตะมะโระประสบกับปัญหาทางกฎหมายเมื่อไปพิมพ์งานที่เกี่ยวกับนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ที่ต้องห้ามชื่อ “ฮิเดะโยะชิและเมียน้อยห้าคน” ซึ่งเป็นภาพของโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ (ค.ศ. 1536-ค.ศ. 1598) ผู้เป็นไดเมียวคนสำคัญกับภรรยาและเมียน้อย อุตะมะโระถูกกล่าวหาว่าดูหมิ่นความมีเกียรติยศของฮิเดะโยะชิ และถูกลงโทษให้ใส่กุญแจมืออยู่ห้าสิบวัน (บ้างก็ว่าถูกจำขัง) หลักฐานบางแหล่งกล่าวว่าประสบการณ์นี้มีผลกระทบกระเทือนทางอารมณ์ต่ออุตะมะโระเป็นอันมากและเป็นการสิ้นสุดอาชีพในฐานะศิลปิน เพียงสองปีหลังจากนั้นอุตะมะโระก็เสียชีวิตเมื่อวันที่ 20 เดือนเก้าของปี ค.ศ. 1806 (ปฏิทินจันทรคติ) ที่ตรงกับวันที่ 31 ตุลาคมเมื่อมีอายุได้ 53 ปีที่เอะโดะลูกศิษย์ ลูกศิษย์. หลังจากที่อุตะมะโระเสียชีวิตไปแล้วโคอิคะวะ ชุงโช (Koikawa Shunchō) ผู้เป็นลูกศิษย์ก็ดำเนินการผลิตภาพพิมพ์ตามแบบของอาจารย์ต่อมา และใช้ “โก” อุตะมะโระเช่นเดียวกับอาจารย์จนกระทั่งปี ค.ศ. 1820 ภาพเขียนที่ผลิตในช่วงสิบสี่ปีนี้ที่เหมือนกับว่าอุตะมะโระยังคงสร้างงานด้วยตนเองอยู่ ในปัจจุบันเรียกว่า “อุตะมะโระ 2” หลังจากช่วงนั้นแล้วโคอิคะวะ ชุงโชเปลี่ยน“โก” เป็น “คิตะกะวะ เทะสึโกะโร” (Kitagawa Tetsugorō) และผลิตงานภาพใต้ชื่อใหม่งานศิลปะของอุตะมะโระ งานศิลปะของอุตะมะโระ. อุตะมะโระสร้างงานไว้กว่าสองพันชิ้นระหว่างที่ยังมีชีวิตอยู่ และงานจิตรกรรม “สึริโมะโนะ” (Surimono) และหนังสือประกอบภาพอีกหลายเล่ม และงานพิมพ์ประเภทเดียวกันอื่นๆ ในบรรดางานเขียนที่มีชื่อเสียงก็ได้แก่ชุด “ภาพศึกษาสีหน้าสตรีสิบภาพ”, “รวมภาพสตรีผู้มีความงดงามของยุค”, “หัวเรื่องรักและกวีนิพนธ์คลาสสิก” (บางครั้งก็เรียกว่า “สตรีตกหลุมรัก” ซึ่งรวมภาพเช่น “เผยรัก” (Revealed Love) หรือ “ระทมรัก” (Pensive Love)) และ “สิบสองชั่วโมงในย่านสำราญ” อุตะมะโระเป็นศิลปินอุกิโยะคนเดียวที่มีชื่อเสียงไปทั่วประเทศในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ ความงามอัญเชิญชวนของงานเขียนของอุตะมะโระถือกันโดยทั่วไปว่าเป็นงานที่ประณีตที่สุดและเป็นงาน “บิจิงะ” ที่สะเทือนอารมณ์ที่สุดในบรรดางานอุกิโยะด้วยกันทั้งหมด อุตะมะโระมีความสามารถในการจับอารมณ์และบุคลิกอันซ่อนเร้นและความเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ของสตรีไม่ว่าจะเป็นชนชั้นใด หรืออายุเท่าใด หรือในสถานการณ์ใด ชื่อเสียงของอุตะมะโระไม่ได้ลดถอยลงตั้งแต่บัดนั้น งานของอุตะมะโระเป็นที่รู้จักกันไปทั่วโลก และถือกันว่าเป็นหนึ่งในบรรดาศิลปินอุกิโยะผู้มีความสำคัญที่สุดห้าหกคนงานพิมพ์บางชิ้นงานพิมพ์บางชิ้น. - Chosen Poems (1791-1792) - Ten Types of Women's Physiognomies (1792-1793) - Famous Beauties of Edo (1792-1793) - Ten Learned Studies of Women (1792-1793) - Anthology of Poems: The Love Section (1793-1794) - Snow, Moon, and Flowers of the Green Houses (1793-1795) - Array of Supreme Beauties of the Present Day (1794) - Twelve Hours of the Green Houses (1794-1795) - Flourishing Beauties of the Present Day (1795-1797) - An Array of Passionate Lovers (1797-1798) - Ten Forms of Feminine Physiognomy (1802)
คิตะงะวะ อุตะมะโระ เป็นช่างพิมพ์แกะไม้ชาวญี่ปุ่นที่มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพศึกษาสตรีที่เรียกว่าอะไร
{ "answer": [ "บิจิงะ" ], "answer_begin_position": [ 290 ], "answer_end_position": [ 296 ] }
3,558
782,070
ประเทศเกาหลีเหนือใน ค.ศ. 1975 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1975 ในประเทศเกาหลีเหนือผู้นำผู้นำ. - ผู้นำสูงสุดของเกาหลีเหนือ – คิม อิล-ซ็อง - นายกรัฐมนตรีของเกาหลีเหนือ – คิม อิลวันเกิดวันเกิด. - 28 ธันวาคม - จี คย็อง ซุน
ผู้นำสูงสุดของเกาหลีเหนือใน ค.ศ. 1975 คือใคร
{ "answer": [ "คิม อิล-ซ็อง" ], "answer_begin_position": [ 228 ], "answer_end_position": [ 240 ] }
3,559
925,348
มิสแกรนด์สระบุรี มิสแกรนด์สระบุรี () เป็นการประกวดนางงามของจังหวัดสระบุรี จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2559 ปัจจุบันดำเนินการประกวดโดย ธธนา คชพันธ์ การประกวดมิสแกรนด์สระบุรีมีจุดประสงค์เพื่อคัดเลือกตัวแทนสาวงาม เข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์ไทยแลนด์ โดยผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์สระบุรี คนปัจจุบัน คือ จุติณัฏฐ์ ภู่ระหงษ์ ได้รับตำแหน่งเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งจัดขึ้น ณ มิลา การ์เด้นท์ รีสอร์ท สระบุรีมิสแกรนด์สระบุรีรองชนะเลิศผลงานการประกวดการประกวดระดับประเทศมิสแกรนด์ไทยแลนด์ผลงานการประกวดระดับนานาชาติเบสท์ โมเดล ออฟ เดอะ เวิลด์ชุดอัตลักษณ์ประจำจังหวัด ชุดอัตลักษณ์ประจำจังหวัด. 2017: ชุดสุวรรณหังสะ ได้รับแรงบันดาลใจสร้างสรรค์จาก หงส์ ตามคติความเชื่อในสมัยพุทธกาล สมเด็จพระพุทธองค์เคยเสวยพระชาติเป็นพญาหงส์ทอง ทางพระพุทธศาสนาจึงถือเป็นหนึ่งในมงคล 108 อันปรากฏใน รอยพระพุทธบาท จ.สระบุรี เรียกว่า หงส์ราชา หงส์เป็นเทพพาหนะของพระพรหม หังสะ มีความหมายว่า ลมหายใจเข้าออกของการมีชีวิตที่พระพรหมประทานชีวิตมาให้เราในทางศิลปะ 2016: ชุดวีรอัปสร ได้แรงบันดาลใจสร้างสรรค์จากคำว่าวีรสตรีผสมกับคำว่าอัปสร หมายถึงสตรีที่มีความงามและความเข็มแข็งในตัว เช่นคำโบราณที่ว่า ดาบก็แกว่าง เปลก็ไกว คือผู้หญิงในสมัยก่อนเมือยามไม่มีศึกสงครามก็ทำหน้าที่แม่บ้านที่ดีเลี้ยงดูลูกหลาน กิจการงานบ้านงานเรือน แต่เมื่อยามรบก็แกว่างดาบออกสู้เคียงบ่าเคียงไหล่กับผู้ชายทำเนียบมิสแกรนด์สระบุรี
ใครคือผู้ที่ได้รับตำแหน่งมิสแกรนด์สระบุรีปี 2561
{ "answer": [ "จุติณัฏฐ์ ภู่ระหงษ์" ], "answer_begin_position": [ 389 ], "answer_end_position": [ 408 ] }
3,560
925,348
มิสแกรนด์สระบุรี มิสแกรนด์สระบุรี () เป็นการประกวดนางงามของจังหวัดสระบุรี จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2559 ปัจจุบันดำเนินการประกวดโดย ธธนา คชพันธ์ การประกวดมิสแกรนด์สระบุรีมีจุดประสงค์เพื่อคัดเลือกตัวแทนสาวงาม เข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์ไทยแลนด์ โดยผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์สระบุรี คนปัจจุบัน คือ จุติณัฏฐ์ ภู่ระหงษ์ ได้รับตำแหน่งเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งจัดขึ้น ณ มิลา การ์เด้นท์ รีสอร์ท สระบุรีมิสแกรนด์สระบุรีรองชนะเลิศผลงานการประกวดการประกวดระดับประเทศมิสแกรนด์ไทยแลนด์ผลงานการประกวดระดับนานาชาติเบสท์ โมเดล ออฟ เดอะ เวิลด์ชุดอัตลักษณ์ประจำจังหวัด ชุดอัตลักษณ์ประจำจังหวัด. 2017: ชุดสุวรรณหังสะ ได้รับแรงบันดาลใจสร้างสรรค์จาก หงส์ ตามคติความเชื่อในสมัยพุทธกาล สมเด็จพระพุทธองค์เคยเสวยพระชาติเป็นพญาหงส์ทอง ทางพระพุทธศาสนาจึงถือเป็นหนึ่งในมงคล 108 อันปรากฏใน รอยพระพุทธบาท จ.สระบุรี เรียกว่า หงส์ราชา หงส์เป็นเทพพาหนะของพระพรหม หังสะ มีความหมายว่า ลมหายใจเข้าออกของการมีชีวิตที่พระพรหมประทานชีวิตมาให้เราในทางศิลปะ 2016: ชุดวีรอัปสร ได้แรงบันดาลใจสร้างสรรค์จากคำว่าวีรสตรีผสมกับคำว่าอัปสร หมายถึงสตรีที่มีความงามและความเข็มแข็งในตัว เช่นคำโบราณที่ว่า ดาบก็แกว่าง เปลก็ไกว คือผู้หญิงในสมัยก่อนเมือยามไม่มีศึกสงครามก็ทำหน้าที่แม่บ้านที่ดีเลี้ยงดูลูกหลาน กิจการงานบ้านงานเรือน แต่เมื่อยามรบก็แกว่างดาบออกสู้เคียงบ่าเคียงไหล่กับผู้ชายทำเนียบมิสแกรนด์สระบุรี
การประกวดมิสแกรนด์สระบุรีปี 2561 จัดขึ้นที่ใด
{ "answer": [ "มิลา การ์เด้นท์ รีสอร์ท" ], "answer_begin_position": [ 467 ], "answer_end_position": [ 490 ] }
3,561
666,979
การเลือกตั้งทั่วไปในญี่ปุ่น พ.ศ. 2557 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งที่ 47 ของประเทศญี่ปุ่นจัดขึ้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2557 มีการออกเสียงลงคะแนนในทุกเขตเลือกตั้งผู้แทนราษฎรของญี่ปุ่นซึ่งรวมบล็อกสัดส่วน (proportional block) เพื่อแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติเพื่อดำรงตำแหน่งในสภาผู้แทนราษฎร สภาล่างของสภานิติบัญญัติแห่งชาติญี่ปุ่น คณะรัฐมนตรีต้องลาออกหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปในสมัยประชุมสภานิติบัญญัติสมัยแรกหลังเลือกตั้ง (รัฐธรรมนูญ มาตรา 70) การเลือกตั้งสภาล่างนี้จะยังนำสู่การเลือกตั้งแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีให้ดำรงตำแหน่งในสภานิติบัญญัติ และการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีใหม่ (แม้มีการแต่งตั้งรัฐมนตรีเดิม)
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งที่ 47 ของประเทศญี่ปุ่นจัดขึ้นเมื่อใด
{ "answer": [ "14 ธันวาคม 2557" ], "answer_begin_position": [ 242 ], "answer_end_position": [ 257 ] }
3,562
46,303
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร (27 มิถุนายน พ.ศ. 2464 — 5 ธันวาคม พ.ศ. 2552) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ประสูติแต่พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระประวัติพระประวัติช่วงต้น พระประวัติ. พระประวัติช่วงต้น. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร มีพระนามเล่นว่า ตุ๊ เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล ประสูติเมื่อวันจันทร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2464 พระองค์มีพระเชษฐภคินีและพระเชษฐา คือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามยุรฉัตร, พระองค์เจ้าหญิง และพระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตรเสกสมรส เสกสมรส. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตรเสกสมรสกับ นาวาโท หม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัย ร.น. พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร กับ หม่อมเจ้าหญิงพร้อมเพราพรรณ ดิศกุล มีโอรสธิดา 2 คน คือ1. หม่อมราชวงศ์เฉลิมฉัตร วุฒิชัย สมรสกับเอมอร วุฒิชัย ณ อยุธยา (สกุลเดิม: บุษบงก์) มีบุตร-ธิดาสองคน คือ หม่อมหลวงอภิชิต และหม่อมหลวงอาทิตรา วุฒิชัย 2. หม่อมราชวงศ์พร้อมฉัตร สวัสดิวัตน์ สมรสกับหม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ มีธิดาสองคนคือ หม่อมหลวงศศิภา และหม่อมหลวงจันทราภา สวัสดิวัตน์สิ้นพระชนม์ สิ้นพระชนม์. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตรสิ้นพระชนม์ด้วยพระโรคติดเชื้อรุนแรงและพระวักกะวายเฉียบพลัน หลังเสด็จเข้ารักษาพระอาการประชวรที่โรงพยาบาลพระรามเก้า ตั้งแต่วันที่ 3 ธันวาคม สิริพระชันษา 88 ปี การนี้โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานโกศราชวงศ์ ทรงรับการพระศพไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์โดยตลอด และมีพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรม 7 คืนและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานน้ำหลวงสรงพระศพ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร ณ ศาลาภาณุรังษี วัดเทพศิรินทราวาส โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ไปทรงสรงน้ำหลวงสรงพระศพ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตรใน วันที่ 6 ธันวาคม 2552 ในวันที่ 8 ธันวาคม 2552 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จไปยังศาลาภาณุรังษี วัดเทพศิรินทราวาส ทรงสดับพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมพระศพ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร ในช่วงเย็นวันที่ 9 ธันวาคม 2552 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จทรงสดับพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมพระศพ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร ณ ศาลาภาณุรังษี วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 6 พฤศจิกายน 2553 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายา ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จไปยังศาลาภาณุรังษี วัดเทพศิรินทราวาส ทรงบำเพ็ญพระราชกุศล พระราชทานในการออกพระเมรุพระศพ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร และวันที่ 7 พฤศจิกายน 2553 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ในการพระราชทานเพลิงพระศพ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร ณ พระเมรุ หน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส การนี้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ โดยเสด็จด้วยการทรงงานการทรงงาน. - พ.ศ. 2490 - 2491 ครูสอนวิชาภาษาอังกฤษ โรงเรียนมาแตร์เดอี - พ.ศ. 2496 - 2500 ผู้ตรวจพิสูจน์อักษร หนังสือพิมพ์แสตนดาร์ด - พ.ศ. 2501 – 2502 โฆษกแผนกภาษาไทย สถานีวิทยุ บีบีซี กรุงลอนดอน (ครั้งที่ 1) - พ.ศ. 2503 – 2504 เจ้าหน้าที่อ่านข่าวภาษาอังกฤษ ของกรมประชาสัมพันธ์ กรุงเทพฯ - พ.ศ. 2504 - 2510 โฆษกแผนกภาษาไทย สถานีวิทยุ บีบีซี กรุงลอนดอน (ครั้งที่ 2) - พ.ศ. 2511 - 2512 สำนักงานแถลงข่าวอังกฤษ สถานเอกอัครราชทูตอังกฤษประจำประเทศไทย - พ.ศ. 2513 – 2525 รองกงสุลแผนกวีซ่า สถานเอกอัครราชทูตอังกฤษประจำประเทศไทย - พ.ศ. 2526 - 2527 อาจารย์สอนภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยลัยธรรมศาสตร์ - พ.ศ. 2528 - 2530 อาจารย์สอนพิเศษภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนที่เตรียมศึกษาต่อต่างประเทศพระกรณียกิจ พระกรณียกิจ. ทรงเป็นองค์ประธานขององค์การ และกรรมการที่ปรึกษามูลนิธิต่าง ๆ ซึ่งล้วนดำเนินงานเพื่อประโยชน์สุขแก่ส่วนรวม อันเป็นการพัฒนาสังคมดังนี้1. องค์ประธานมูลนิธิสวนหลวง ร.9 ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2. องค์ประธานกรรมการอำนวยการมูลนิธิร่วมจิตต์น้อมเกล้าฯ เพื่อเยาวชน ในพระบรมราชินูปถัมภ์ 3. องค์นายกมูลนิธิช่วยนักเรียนขาดแคลน ในพระบรมราชินูปถัมภ์ 4. องค์ประธานกรรมการจัดทุน สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ 5. องค์ประธานกิตติมศักดิ์มูลนิธิพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน 6. องค์ประธานกิตติมศักดิ์มูลนิธิอนุสรณ์หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร 7. องค์ประธานที่ปรึกษามูลนิธิศูนย์กลางประสานงานพัฒนาชนบท 8. องค์ประธานมูลนิธิคึกฤทธิ์ 80 9. องค์ประธานที่ปรึกษามูลนิธิเพชรภาษา 10. อดีตองค์ประธานซีไรท์อวอร์ด 11. องค์อุปถัมภ์ชมรมหัวใจไร้สาร และ ปปส.พระเกียรติยศพระอิสริยยศพระเกียรติยศ. พระอิสริยยศ. - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร (27 มิถุนายน 2464 - 5 ธันวาคม 2552)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2539 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ ๙ ชั้น ๒พระเกียรติคุณที่ได้รับพระเกียรติคุณที่ได้รับ. - พ.ศ. 2536 ปริญญาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาศิลปกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล - พ.ศ. 2540 ปริญญาศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยสยาม - พ.ศ. 2541 โล่รางวัล “มหิดลวรานุสรณ์” - พ.ศ. 2542 ปริญญาศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันราชภัฏสวนสุนันทาพงศาวลี
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร เป็นพระราชนัดดาของกษัตริย์ไทยองค์ใด
{ "answer": [ "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" ], "answer_begin_position": [ 374 ], "answer_end_position": [ 411 ] }
3,563
86,823
ฟ้าทะลายโจร ฟ้าทะลายโจร อาจหมายถึง- ฟ้าทะลายโจร (พืช) เป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่งมีรสขม เป็นยาเย็น มีฤทธิ์แก้อักเสบ ฆ่าเชื้อโรค - ฟ้าทะลายโจร (ภาพยนตร์) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2543 - ฟ้าทะลายโจร (รายการโทรทัศน์) รายการโทรทัศน์ของ ธีมะ กาญจนไพริน ออกอากาศทาง บลูสกายแชนแนล
ฟ้าทะลายโจรมีรสแบบใด
{ "answer": [ "ขม" ], "answer_begin_position": [ 165 ], "answer_end_position": [ 167 ] }
3,564
85,310
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ กฟภ. (Provincial Electricity Authority ตัวย่อ PEA) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่บริการจำหน่ายไฟฟ้าแก่ประชาชนในส่วนภูมิภาคทุกจังหวัดทั่วประเทศไทย ยกเว้นกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นเขตรับผิดชอบของการไฟฟ้านครหลวง สำนักงานใหญ่ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ตั้งอยู่ที่ 200 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร มีรายได้จากการจำหน่ายไฟฟ้า 465,044.54 ล้านบาท (พ.ศ. 2557) และเป็นรัฐวิสาหกิจที่มีรายได้นำส่งเป็นรายได้ของรัฐสูงเป็นลำดับที่ 4 ของรัฐวิสาหกิจไทย มูลค่ากว่า 13,534.00 ล้านบาท (พ.ศ. 2557)ประวัติ ประวัติ. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มีที่มาเริ่มจากการเป็นแผนกไฟฟ้า ในกองบุราภิบาล กรมสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย และก่อตั้งไฟฟ้าเทศบาลเมืองนครปฐมเป็นจังหวัดแรก เมื่อ พ.ศ. 2473 ต่อมาใน พ.ศ. 2477 มีการปรับปรุงแผนกไฟฟ้า เป็น กองไฟฟ้า สังกัดกรมโยธาเทศบาล กระทรวงมหาดไทย และเปลี่ยนชื่อเป็น กองไฟฟ้าภูมิภาค ในภายหลัง ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐบาลเห็นความจำเป็นในการสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานด้านไฟฟ้า จึงออกพระราชกฤษฎีกา ซึ่งให้ไว้เมื่อวันที่ 6 มีนาคม พุทธศักราช 2497 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 16 มีนาคม พุทธศักราช 2497 ก่อตั้ง องค์การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มีทุนจดทะเบียน 5 ล้านบาท มีการไฟฟ้าอยู่ในความดูแล จำนวน117 แห่ง อยู่ภายใต้การควบคุมของกรมโยธาเทศบาล กระทรวงมหาดไทย และรัฐบาล โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นประธานกรรมการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ได้รับการสถาปนาตามพระราชบัญญัติการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค พุทธศักราช 2503 ณ วันที่ 28 กันยายน 2503 โดยรับช่วงภารกิจต่อจาก องค์การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มาดำเนินการ อย่างต่อเนื่อง ด้วยทุนประเดิมจำนวน 87 ล้านบาทเศษ มีการ ไฟฟ้าอยู่ในความรับผิดชอบ 200 แห่ง มีผู้ใช้ไฟจำนวน 137,377 ราย และพนักงาน 2,119 คน กำลังไฟฟ้าสูงสุดในปี 2503 เพียง 15,000 กิโลวัตต์ ผลิตด้วยเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ดีเซลล์ทั้งสิ้น สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าบริการ ประชาชนได้ 26.4 ล้านหน่วย (กิโลวัตต์-ชั่วโมง) ต่อปี และมีประชาชน ได้รับประโยชน์ จากการใช้ไฟฟ้าประมาณ 1 ล้านคน หรือร้อยละ 5 ของประชาชนที่มีอยู่ทั่วประเทศในขณะนั้น 23 ล้านคน ภายหลังจากมีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค พุทธศักราช 2503 ส่งผลให้ มีการแต่งตั้งบุคคลซึ่งไม่ใช่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นประธานกรรมการ โดยบุคคลแรกที่เป็นประธานคณะกรรมการได้แก่นาย ดร.วิญญู อังคณารักษ์ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2521 อย่างไรก็ตามรายนามประธานคณะกรรมการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมักเป็น ปลัดกระทรวงมหาดไทย รองปลัดกระทรวงมหาดไทย อธิบดีกรมการปกครอง หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ได้มีการแต่งตั้ง พลเอก วิโรจน์ บัวจรูญ เป็นประธานกรรมการในวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557นับเป็นครั้งแรกที่บุคคลที่ไม่ใช่ ปลัดกระทรวงมหาดไทย รองปลัดกระทรวงมหาดไทย อธิบดีกรมการปกครอง ดำรงตำแหน่งดังกล่าว วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 แต่งตั้ง ถวิล เปลี่ยนศรี เป็นประธานกรรมการ และวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560 แต่งตั้ง ดร.คุรุจิต นาครทรรพ อดีตปลัดกระทรวงพลังงาน เป็นประธานกรรมการการแบ่งเขตรับผิดชอบ การแบ่งเขตรับผิดชอบ. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคแบ่งพื้นที่รับผิดชอบออกเป็น 4 ภาค แต่ละภาคแบ่งเป็น 3 เขตย่อย- ภาคเหนือ- กฟน.1 เชียงใหม่ รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 6 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา ลำปาง และลำพูน - กฟน.2 พิษณุโลก รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 8 จังหวัด ได้แก่ พิษณุโลก พิจิตร กำแพงเพชร ตาก สุโขทัย แพร่ น่าน และอุตรดิตถ์ - กฟน.3 ลพบุรี รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 6 จังหวัด ได้แก่ ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อุทัยธานี นครสวรรค์ และเพชรบูรณ์ - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ- กฟฉ.1 อุดรธานี รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 8 จังหวัด ได้แก่ อุดรธานี ขอนแก่น หนองบัวลำภู เลย หนองคาย บึงกาฬ นครพนม และสกลนคร - กฟฉ.2 อุบลราชธานี รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 8 จังหวัด ได้แก่ อุบลราชธานี อำนาจเจริญ มุกดาหาร กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร และศรีสะเกษ - กฟฉ.3 นครราชสีมา รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 4 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์ - ภาคกลาง- กฟก.1 พระนครศรีอยุธยา รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 7 จังหวัด ได้แก่ พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สระบุรี ปทุมธานี นครนายก ปราจีนบุรี และสระแก้ว - กฟก.2 ชลบุรี รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 5 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ระยอง จันทบุรี และตราด - กฟก.3 นครปฐม รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 4 จังหวัด ได้แก่ นครปฐม สมุทรสาคร สุพรรณบุรี กาญจนบุรี และราชบุรี (เฉพาะอำเภอบ้านโป่ง) - ภาคใต้- กฟต.1 เพชรบุรี รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 6 จังหวัด ได้แก่ เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง สมุทรสงคราม และราชบุรี (ยกเว้นอำเภอบ้านโป่ง) - กฟต.2 นครศรีธรรมราช รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 6 จังหวัด ได้แก่ นครศรีธรรมราช ตรัง กระบี่ ภูเก็ต พังงา และสุราษฎร์ธานี - กฟต.3 ยะลา รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 6 จังหวัด ได้แก่ ยะลา นราธิวาส ปัตตานี สงขลา สตูล และพัทลุงรายนามผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคแผนที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคแผนที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. - ค้นหาการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคหรือกฟภ.ของไทยเป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงใด
{ "answer": [ "มหาดไทย" ], "answer_begin_position": [ 216 ], "answer_end_position": [ 223 ] }
3,565
109,415
เขาคิชฌกูฏ เขาคิชฌกูฏ อาจหมายถึง- อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ อุทยานแห่งชาติในจังหวัดจันทบุรี - วัดเขาคิชฌกูฏ วัดในจังหวัดจันทบุรี - อำเภอเขาคิชฌกูฏ อำเภอในจังหวัดจันทบุรี
อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏเป็นอุทยานแห่งชาติของไทยอยู่ในจังหวัดใด
{ "answer": [ "จันทบุรี" ], "answer_begin_position": [ 167 ], "answer_end_position": [ 175 ] }
3,566
703,076
ทฤษฎีคาดหวัง ทฤษฎีคาดหวัง () เป็นทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม (Behavioral economics) ที่แสดงวิธีที่มนุษย์เลือกระหว่างทางเลือกที่เป็นไปได้ ในสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงแต่รู้ค่าความน่าจะเป็นของทางเลือก ทฤษฎีกำหนดว่า มนุษย์ตัดสินใจขึ้นอยู่กับค่าความขาดทุน (ผลลบ) หรือผลกำไร (ผลบวก) ที่อาจจะมี ไม่ได้ขึ้นอยู่กับค่าผลที่ได้โดยที่สุด และมนุษย์ประเมินค่าความขาดทุนและผลกำไรโดยใช้ฮิวริสติกบางอย่าง แบบจำลองนี้เป็นแบบพรรณนา (descriptive) เป็นแบบจำลองของการเลือกการตัดสินใจที่มีในชีวิตจริง ๆ ไม่ใช่เป็นการตัดสินใจที่อาจจะเหมาะสำหรับสถานการณ์มากที่สุด (optimal decision) ทฤษฎีนี้สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1979 และมีการพัฒนาขึ้นอีกในปี ค.ศ 1992 โดยแดเนียล คาฮ์นะมัน และอะมอส ทเวอร์สกี้ เป็นแบบจำลองที่มีความแม่นยำทางจิตวิทยามากกว่า expected utility hypothesis (สมมุติฐานอรรถประโยชน์ที่คาดหวัง) ในคำอธิบายดั้งเดิม คำว่า prospect หมายถึง ลอตเตอร์รี่ บทความ "Prospect Theory: An Analysis of Decision under Risk (ทฤษฎีคาดหวัง: การวิเคราะห์การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง)" (ค.ศ. 1979) ของคาฮ์นะมันและทเวอร์สกี้ เป็น "บทความตั้งต้นของสาขาเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม"เชิงอรรถและอ้างอิงเชิงอรรถและอ้างอิงเชิงอรรถและอ้างอิง. - Easterlin, Richard A. "Does Economic Growth Improve the Human Lot?", in - เว็บไซต์ - An introduction to Prospect Theory - Prospect Theory
ทฤษฎีคาดหวังเป็นทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมที่ถูกสร้างขึ้นในปีค.ศ.ใด
{ "answer": [ "1979" ], "answer_begin_position": [ 671 ], "answer_end_position": [ 675 ] }
3,567
96,662
เมก้า XLR เมก้า XLR (อ่าน: เมก้า เอกซ์แอลอาร์) () เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกา ผลิตโดย Jody Schaeffer และ George Kistic เคยฉายผ่านทางช่องการ์ตูนเน็ตเวิร์คผ่านทางทรูวิชั่นส์ช่อง 45 ปัจจุบันได้หยุดฉายลงแล้ว เมก้า XLR เป็นการ์ตูนแอ็กชั่นกึ่งตลกขบขัน โดยเน้นเรื่องราวที่ คูป หนุ่มอ้วนซึ่งสามารถเก็บหุ่นยนต์จากอนาคตชื่อเมก้า นำมาตกแต่งเป็นของตนเอง เขาได้ใช้เมก้าในการปกป้องโลกจากเหล่าวายร้ายมากหน้าหลายตา เมก้า XLR เป็นการ์ตูนที่มีการล้อเลียนอะนิเมะหลายๆเรื่องของประเทศญี่ปุ่น ทั้ง เซเลอร์มูน, ขบวนการนักสู้, กัปตันฮาร์ล็อก, กันดั้ม อีกทั้งตัวหุ่นเมก้าเองก็มีลักษณะหุ่นยนต์เดินสองขาแบบมนุษย์ ซึ่งเป็นสไตล์การ์ตูนหุ่นยนต์ของประเทศญี่ปุ่น นอกจากนั้นแล้วเมก้า XLR ยังได้นักแสดงมีชื่อบางคนมาให้เสียงพากย์ในเรื่อง ไม่ว่าจะเป็น Mick Foley (นักมวยปล้ำ) , Bruce Campbell (นักแสดง)เนื้อเรื่อง เนื้อเรื่อง. ในโลกอนาคตมนุษย์ได้ทำสงครามกับกลุ่มเอลี่ยนชั่วร้ายที่เรียกว่า กลอร์ฟท ซึ่งพวกกลอร์ฟทได้ต่อสู้กับพวกมนุษย์จนสามารถกดดันมนุษย์จนล่าถอยมาจนมุมได้ แต่ทว่าพวกมนุษย์สามารถขโมยแบบแปลนของหุ่นของพวกกลอร์ฟทแล้วนำมาดัดแปลงจนสามารถสร้างเมก้า (Megas มาจากคำว่า Mechanizd Earth Guard Attack System) ขึ้นมาได้ ซึ่งได้กลายเป็นความหวังเดียวของมนุษยชาติ แต่เมื่อมนุษย์ถูกจนมุม พวกเขาจึงใช้เครื่องย้อนเวลารุ่นทดลอง โดยจะส่งหุ่นเมก้ากลับไปในอดีตและให้คีว่าปกป้องมันไว้จากพวกกลอร์ฟท ทว่าการส่งเมก้าไปนั้นเกิดผิดพลาดมันกลับไปลงในปี 1936 ในนิวเจอร์ซีย์ จากนั้นในปี 2004 คูปกับเจมี่ก็ซื้อมันมาในราคาสองเหรียญและดัดแปลงมันขึ้นมาและเรียกมันว่า XLR (eXtra Large Robot) จากนั้นคีว่าก็เดินทางมาถึงปี 2004 เพื่อมาควบคุมเมก้า แต่ทว่าคูปดัดแปลงจนเธอไม่สามารถควบคุมได้ เธอจึงตัดสินใจสอนคูปให้รู้จักการใช้งานเมก้าและต่อกรกับพวกกลอร์ฟทที่เดินทางย้อนเวลามาเพื่อทำลายเมก้าตัวละครตัวละคร. - คูป คูปโลว์สกี้ (Coop Cooplowski) : ผู้ควบคุมเมก้าโดยใช้อุปกรณ์วิดีโอเกม เขาพบเมก้าที่ที่ทิ้งขยะเมืองนิวเจอร์ซีย์และซื้อมันมาในราคา 2 เหรียญ คูปเป็นหนุ่มอ้วนแบบอเมริกันที่ชอบกิน, ดนตรีและเที่ยวเล่น เขาไม่ชอบคีว่าที่ชอบออกคำสั่งเขาแต่เขาก็พร้อมต่อสู้เพื่อปกป้องโลกและใครก็ตามที่มาทำร้ายเพื่อนหรือดูถูกเขา - เจมี่ (Jamie) : เพื่อนสนิทของคูป มักชอบไปไหนมาไหนกับคูปเสมอ เขาอยากใช้เมก้าสร้างชื่อเสียง, เงินทองและหาสาวๆ เจมี่เป็นหนุ่นผอมแห้ง เขาต่อสู้ไม่เก่งและไม่มีทักษะการขับหุ่นยนต์แม้แต่นิดเดียว - ผู้การคีว่า แอนดรูว์ (Commander Kiva Andrew) : คีว่าเป็นหญิงจากอนาคตที่ต้องย้อนเวลามาปัจจุบันเพื่อนำเมก้าเข้าต่อกรกับพวกกลอร์ฟท แต่ทว่าเมื่อคูปเป็นคนเดียวที่สามารถควบคุมเมก้าได้ เธอจึงทำหน้าที่สอนเขาในการต่อสู้ต่างๆแทน - โก้ท (Goat) : เจ้าของที่ทิ้งขยะในนิวเจอร์ซีย์ที่ที่คูปไปเจอเมก้า บทบาทของเขามักจะอยู่บนพื้นมากกว่านั่งในเมก้า โก้ทยังปรากฏในการ์ตูนเรื่องMetalocalypse ของการ์ตูนเน็ตเวิร์กและ Downtown ของช่อง MTV - โกร์ราท (Gorrath) : หัวหน้าของกลอร์ฟท ซึ่งได้เดินทางย้อนเวลาโดยมีเป้าหมายจะนำเมก้ากลับไปแต่ทว่าเกิดติดอยู่ในยุคปัจจุบันแทน โกร์ราทสวมชุดเกราะหุ่นยนต์และมีส่วนหัวเท่านั้นที่ไม่มีเกราะรายชื่อตอนฤดูกาลที่ 1รายชื่อตอน. ฤดูกาลที่ 1. 1. Test Drive 2. Battle Royale 3. All I Wanted Was a Slushie 4. The Fat & the Furious 5. Buggin the System 6. TV Dinner 7. Breakout 8. Dude, Where's My Head? 9. Bad Guy 10. Junk in the Trunk 11. DMV: Dept. of Megas Violations 12. Coop D'Etat 13. The Driver's Seatฤดูกาลที่ 2ฤดูกาลที่ 2. 1. Ultra Chicks 2. The Return 3. Don't Tell Mom the Babysitter's Coop 4. Viva Las Megas 5. Thanksgiving Throwdown 6. S-Force S.O.S. 7. Space Booty 8. Terminate Her 9. Ice Ice Megas 10. A Clockwork Megas 11. Universal Remote 12. Rearview Mirror, Mirror (ตอน 1) 13. Rearview Mirror, Mirror (ตอน 2)เกร็ดเกร็ด. - ในเกือบทุกตอน ของที่เกี่ยวสถานีดนตรี Pop TV มักจะต้องถูกทำลายเสมอ ซึ่ง Pop TV เป็นชื่อล้อ MTV เพราะ MTV ได้ยกเลิกการออกอาการ Downtown ซึ่งเป็นผลงานอีกชิ้นหนึ่งของ Jody Schaeffer กับ George Krstic - Mick Foley (นักมวยปล้ำอดีตสังกัดค่าย WWE) เคยให้เสียงพากย์เป็นโกร์ราทในตอน LowBrow ซึ่งเป็นตอนเปิดตัวแหลงข้อมูลอื่นแหลงข้อมูลอื่น. - เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ - บทสัมภาษณ์ Jody Schaeffer และ George Krstic
เมก้า XLR เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศใด
{ "answer": [ "สหรัฐอเมริกา" ], "answer_begin_position": [ 165 ], "answer_end_position": [ 177 ] }
3,568
718,438
เนวิลล์ (นักมวยปล้ำ) เบนจามิน แซทเทอร์ลีย์ (Benjamin Satterley) เกิดวันที่ 22 สิงหาคม ค.ศ. 1986 นักมวยปล้ำอาชีพชาวอังกฤษ ปัจจุบันเซ็นสัญญากับWWE ภายใต้ชื่อ เนวิลล์ (Neville) หรือชื่อเดิม แพก (Pac) เป็นแชมป์ครุยเซอร์เวท WWE, แชมป์ NXT และแชมป์แท็กทีม NXTชีวิตในวัยเด็ก ชีวิตในวัยเด็ก. เขามีชื่อจริงว่า Benjamin "Ben" Satterley เกิดใน Newcastle upon Tyne, อังกฤษ เป็นเด็กเขามีบทบาทอย่างมากที่เข้าร่วมในกีฬาเช่นฟุตบอล, ฮอกกี้, ฮอกกี้ลูกกลิ้งบาสเกตบอลและว่ายน้ำ ความสนใจในการต่อสู้ของเขาผ่านมาเกี่ยวกับหนึ่งป้าของเขาที่เป็นแฟนของสหพันธ์มวยปล้ำโลก พ่อแม่ของเขาได้รับอนุญาตจากการดูการต่อสู้ที่บ้านของพวกเขาเพื่อที่เขาจะไปมากกว่าป้าของเขาที่จะดูมัน นักมวยปล้ำที่เขาชื่นชอบที่เติบโตขึ้นมาเป็น ดิอันเดอร์เทเกอร์และ "แฮกซอว์" จิม ดักแกน เขาเริ่มต้นการฝึกอบรมเป็นนักมวยปล้ำที่อายุสิบแปดที่ฮอลล์เซนต์โจเซฟอธิบายโดย Satterley ว่า "สวยมากโรงเรียนมวยปล้ำเฉพาะในพื้นที่"ดับเบิลยูดับเบิลยูอีเอ็นเอ๊กซ์ที (2012–2015) ดับเบิลยูดับเบิลยูอี. เอ็นเอ๊กซ์ที (2012–2015). ในเดือนกรกฎาคม 2012 มีรายงานว่า Satterley ได้ลงนามในสัญญากับ WWE เขาเดินเข้าไปสมทบค่ายพัฒนาอย่าง NXT และเปิดตัวของเขาโดยใช้ชื่อ เอเดรียน เนวิลล์ และเป็นแชมป์ NXTโดยเอาชนะโบ ดัลลัส ใน NXT Arrivalค่ายหลัก (2015–ปัจจุบัน) ค่ายหลัก (2015–ปัจจุบัน). ในรอว์ 30 มีนาคม 2015 เขาเปิดตัวภายใต้ชื่อที่สั้นลงว่า เนวิลล์ และสามารถเอาชนะเคอร์ติส แอ็กเซลไปได้ ในสัปดาห์ต่อมาในรอว์ เขาได้เจอกับแชมป์ WWE เซท โรลลินส์ แต่ก็พ่ายแพ้ไป ในรอว์ตอนที่ 27 เมษายน เนวิลล์เอาชนะลู้ก ฮาร์เปอร์ในรอบแรกของการแข่งขันคิงออฟเดอะริง 2015 และเขาเอาชนะเชมัสในคืนต่อมาในรอบรองชนะเลิศ ในรอบชิงชนะเลิศในคืนนั้นเขาพ่ายแพ้ให้แบด นิวส์ บาร์เร็ตต์ ในซัมเมอร์สแลม (2015) เนวิลล์ร่วมกับนักแสดงสตีเฟน อาเมล เอาชนะสตาร์ดัสต์และคิง บาร์เร็ตต์ไปได้ ใน เนวิลล์ได้เข้าร่วมลีกครุยเซอร์เวทโดยมาในบทฝ่ายอธรรมและเล่นงานแชมป์ครุยเซอร์เวท WWE ริช ซวอนน์ กับทีเจ เพอร์กินส์ ในรอยัลรัมเบิล (2017) เนวิลล์คว้าแชมป์ครุยเซอร์เวทสมัยแรกจากซวอนน์ ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 33สามารถป้องกันแชมป์กับออสติน แอรีส์เอาไว้ได้ ในรอว์ 14 สิงหาคม 2017 ได้เสียแชมป์ให้กับอะกิระ โทะซะวะ ก่อนจะชิงคืนมาได้สมัย2ในซัมเมอร์สแลม (2017)เพียง6วัน ในโนเมอร์ซี (2017)เสียแชมป์ให้กับเอ็นโซ อมอเรชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. Satterley แต่งงานแล้ว เขาเป็นผู้สนับสนุนของสโมสรฟุตบอลบ้านเกิดของเขา ทีมนิวคาสเซิลยูไนเต็ด วงดนตรีโปรดของเขาคือ พิเศษสื่ออื่น ๆ สื่ออื่น ๆ. เขาได้เปิดตัววิดีโอเกมเป็นตัวละครที่สามารถเล่นได้ใน WWE 2K15 ในฐานะ Adrian Neville ซึ่งเขามีเส้นทางของตัวเองในโหมด "Who Got NXT" สำหรับ Xbox 360 และ PlayStation 3 เวอร์ชันเกมนี้ซึ่งเป็นการบันทึกการแข่งขันของเขาใน NXT นอกจากนี้เขายังเป็นตัวละครที่สามารถเล่นได้ใน WWE 2K15 ใน PlayStation 4 และ Xbox One ในโหมด MyCareer หลังจากหักคะแนน 1,000 หรือมากกว่า นอกจากนี้เขายังเคยปรากฏตัวใน UpUpDownDown รายการยูทูบของ Xavier Woodsในมวยปล้ำในมวยปล้ำ. - Finishing moves- As Adrian Neville / Neville- Imploding 450° splash – 2014 - Red Arrow (Corkscrew shooting star press) - 2013-present - Rings of Saturn (Double underhook crossface) – 2017–present - As Jungle PAC / PAC- 630° senton, sometimes while performing a corkscrew - Bridging German suplex - Corkscrew 450° splash - Corkscrew shooting star press - Flaming Star Press (Imploding 450° splash) - Shooting star senton - Signature moves- 450° splash, sometimes while springboarding - Dragonrana - Hurricanrana, sometimes into a pin - Handspring into a tornado DDT - Leg lariat - Moonsault transitioned into a tilt-a-whirl DDT - Multiple frankensteiner variations- Reverse, sometimes from the top rope - Standing - Super - Multiple kick variations- Back - Baseball slide - Drop, sometimes while slingshotting - Dropsault - Enzuigiri - Spin - Roundhouse - Super - Multiple moonsault variations- Spaceman Plancha (Corkscrew plancha) - Springboard - Standing, sometimes while performing a corkscrew or over-rotated into a senton. - Multiple shooting star variations- British Airways (Standing corkscrew) - Corkscrew plancha - Knee drop - Standing - Multiple suplex variations- German, sometimes from the top rope or from a deadlift position - Northern Lights - Snap - Super (sometimes used as a finisher) - Tiger - Over the top rope moonsault plancha - Phoenix splash from the middle rope - Pop-up cutter - Pop-up sitout powerbomb - Slingshot cutter - Springboard crossbody - Suicide dive - Nicknames- "Dragon Gate Ultra Birdman" - "The Man That Gravity Forgot" - "The (Self-Proclaimed) King (of the Cruiserweights)" - "The New Sensation" - Entrance themes- "Evolution: Enter the New World" by Fear, and Loathing in Las Vegas (Dragon Gate/NJPW) - "Faceless" by Left With Tomorrow (NXT; 2013) - "Flash Burn" by Daniel Holter and Kyle White (NXT; 2014) - "Break Orbit" by CFO$(NXT/WWE; January 2014–December 2016) - "Break Orbit ('17 Remix)" by CFO$ (WWE; 3 January 2017 – present)ผลงานแชมป์และความสำเร็จผลงานแชมป์และความสำเร็จ. - 3 Count Wrestling- 3CW Heavyweight Championship (1 time) - 3CW North East Championship (1 time) - American Wrestling Rampage- AWR No Limits Championship (1 time) - Dragon Gate- Open the Brave Gate Championship (1 time) - Open the Twin Gate Championship (1 time) – with Dragon Kid - Open the Triangle Gate Championship (3 times) – with Masato Yoshino and BxB Hulk (1), Naoki Tanisaki and Naruki Doi (1), and Masato Yoshino and Naruki Doi (1) - Dragon Gate USA- Open the United Gate Championship (1 time) – with Masato Yoshino - Frontier Wrestling Alliance- FWA Flyweight Championship (1 time) - Independent Wrestling Federation- IWF Tag Team Championship (1 time) – with Harry Pain - One Pro Wrestling- 1PW Openweight Championship (1 time) - Over The Top Wrestling- OTT No Limits Championship (1 time) - Pro Wrestling Guerrilla- PWG World Tag Team Championship (1 time) – with Roderick Strong - Dynamite Duumvirate Tag Team Title Tournament (2007) – with Roderick Strong - Pro Wrestling Illustrated- PWI ranked him No. 11 of the top 500 singles wrestlers in the PWI 500 in 2017 - Rolling Stone- One-Night-Only Face Turn of the Year (2017) - SoCal Uncensored- Match of the Year (2006) - Westside Xtreme Wrestling- wXw World Lightweight Championship (2 times) - Rolling Stone- Worst Entrance Gimmick on Great New Main-Roster Wrestler (2015) - Most Jaw-Dropping Finisher (2015) – Red Arrow - WWE- WWE Cruiserweight Championship (2 times) - Slammy Award (1 time)- Breakout Star of the Year (2015) - WWE NXT- NXT Championship (1 time) - NXT Tag Team Championship (2 times) – with Oliver Grey (1) and Corey Graves (1)
เบนจามิน แซทเทอร์ลีย์ เป็นนักมวยปล้ำอาชีพจากประเทศใด
{ "answer": [ "อังกฤษ" ], "answer_begin_position": [ 209 ], "answer_end_position": [ 215 ] }
3,569
64,564
ปรัศนี ปรัศนี หรือ เครื่องหมายคำถาม หรือ เครื่องหมายสงสัย (question mark) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง มีลักษณะตล้ายตะขอหันทางซ้ายและมีจุดอยู่ข้างล่าง มีการใช้ดังนี้การใช้งานการใช้งาน. - ใช้เติมหลังประโยคคำถาม นิยมใช้ในภาษาอังกฤษและภาษาละตินอื่น ๆ- ไก่กับไข่อะไรเกิดก่อนกัน? ไก่ไก่ไก่ไก่ไก่ไก่ไก่ไก่ไก่ไก่ไก่ไก่ - ใช้เติมเพื่อแสดงถึงความสงสัย หรือความไม่แน่ใจ สามารถเติมอัศเจรีย์ประกอบด้วยก็ได้- ครั้นเรานั่งรถผ่านมา เห็นเงาตะคุ่ม ๆ ข้างทาง หรืออาจจะเป็นผี!? - ใช้แทนที่สิ่งที่ไม่รู้ค่า หรือต้องการปิดบัง- หมายเลขโทรศัพท์ของเราคือ 0-2456-???? อย่าลืมโทรมานะ - ปรัศนีในนิพจน์ปรกติ (regular expression) ใช้แทนตัวอักขระ 0 หรือ 1 ตัว - ปรัศนีเป็นตัวแยกระหว่างแอดเดรสกับเควียรีสตริงในยูอาร์แอล- http://www.some-news-agent.com/news.php?page=3 - ในภาษาอาหรับ ปรัศนีเขียนกลับด้านอย่างนี้ ؟
เครื่องหมายวรรคตอนสากลใดที่มีลักษณะคล้ายตะขอหันทางซ้ายและมีจุดอยู่ข้างล่าง
{ "answer": [ "ปรัศนี" ], "answer_begin_position": [ 86 ], "answer_end_position": [ 92 ] }
3,570
7,675
เอเชียนเกมส์ เอเชียนเกมส์ (; ชื่อย่อ: Asiad) เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันโดย สหพันธ์เอเชียนเกมส์ (The Asian Games Federation; AGF) ตั้งแต่การแข่งขันครั้งแรกถึงครั้งที่ 8 และตั้งแต่เอเชียนเกมส์ครั้งที่ 9 เป็นต้นมา บริหารจัดการแข่งขันโดย สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) ภายใต้การรับรองโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee; IOC) และยังถือได้ว่าเป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองรองจากกีฬาโอลิมปิกด้วย ในประวัติศาสตร์ของเอเชียนเกมส์ มีชาติเจ้าภาพจัดการแข่งขันแล้ว 9 ประเทศ โดยมี 46 ประเทศเข้าร่วม ยกเว้นอิสราเอลซึ่งถูกกีดกันออกจากเอเชียนเกมส์ หลังจากที่เข้าร่วมเป็นคราวสุดท้ายในเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 7 ที่ประเทศอิหร่าน สำหรับเอเชียนเกมส์ครั้งหลังสุดได้จัดขึ้นที่นครอินช็อนของเกาหลีใต้ระหว่างวันที่ 19 กันยายน-4 ตุลาคม พ.ศ. 2557 (ค.ศ. 2014) และการแข่งขันครั้งต่อไป จะจัดขึ้นที่กรุงจาการ์ตาของอินโดนีเซีย ในปี พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018)ประวัติยุคกีฬาตะวันออกไกล ประวัติ. ยุคกีฬาตะวันออกไกล. เมื่อปี พ.ศ. 2456 (ค.ศ. 1913) อี.เอส.บราวน์ ประธานสมาคมกีฬาแห่งหมู่เกาะฟิลิปปินส์ของสหรัฐอเมริกา (The Philippines Athletic Association) ผู้จัดการแข่งขันกีฬาคาร์นิวัลแห่งกรุงมะนิลา (Manila Carnival Games) เชิญชวนให้สาธารณรัฐจีน และ จักรวรรดิญี่ปุ่น (ชื่อในขณะนั้น) เข้าร่วมการแข่งขัน กีฬาชิงชนะเลิศแห่งตะวันออกไกล (Far East Games) ทว่าในเวลาต่อมา เกิดปัญหาทางการเมืองระหว่างจีนกับญี่ปุ่น การแข่งขันจึงต้องสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1937) หลังจากสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง มีการประกาศเอกราชเกิดขึ้นเป็นหลายประเทศใหม่ ซึ่งประเทศในเอเชียทั้งหมดต่างก็คาดหวังจะเห็น การแข่งขันกีฬาภายในทวีปรูปแบบใหม่ ที่ไม่มีการใช้อิทธิพลเข้าครอบงำ หากแต่ร่วมกันเสริมสร้างความเข้มแข็ง ภายใต้ความเข้าใจซึ่งกันและกันยุคสหพันธ์เอเชียนเกมส์ ยุคสหพันธ์เอเชียนเกมส์. จากนั้นในปี พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) กลุ่มนักกีฬาของสาธารณรัฐประชาชนจีน และฟิลิปปินส์ ซึ่งเข้าร่วมแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 14 ที่กรุงลอนดอนของสหราชอาณาจักร มีดำริที่จะฟื้นการแข่งขันกีฬาตะวันออกไกลขึ้นใหม่ อย่างไรก็ตาม กูรู ดัตท์ สนธิ (Guru Dutt Sondhi) ผู้แทนคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งอินเดีย ให้ความเห็นว่า ควรเปิดกว้างให้แก่ทุกประเทศในทวีปเอเชีย สามารถเข้าร่วมการแข่งขันอย่างเท่าเทียมกัน จึงเสนอให้ร่างระเบียบขึ้น เพื่อจัดตั้งขึ้นในรูปสหพันธ์กีฬาแห่งเอเชีย (The Asian Athletic Federation) ต่อมาเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) ธรรมนูญองค์กรก็เสร็จสมบูรณ์ พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อเป็น สหพันธ์กีฬาเอเชีย (The Asian Games Federation) ถือกำเนิดขึ้นที่กรุงนิวเดลีของอินเดีย ซึ่งเมืองหลวงแห่งนี้เอง ที่เป็นเจ้าภาพการแข่งขันครั้งที่ 1 ของเอเชียนเกมส์ ในอีกสองปีถัดมา (พ.ศ. 2493; ค.ศ. 1950) ระยะต่อมาเกิดปัญหาขึ้น ตั้งแต่ก่อนการแข่งขันครั้งที่ 8 ซึ่งมีกรุงเทพมหานครของไทยเป็นเจ้าภาพ เมื่อปี พ.ศ. 2521 (ค.ศ. 1978) เนื่องจากสหพันธ์เอเชียนเกมส์ ออกมติไม่ยินยอมให้ จีนไทเปและอิสราเอล เข้าร่วมแข่งขัน อันมีสาเหตุมาจากปัญหาการเมืองภายในของทั้งสองชาติ ทำให้เกิดความกังวลต่อการรักษาความปลอดภัย เป็นเหตุให้องค์กรกีฬาระดับนานาชาติหลายแห่ง ออกมาทักท้วงต่อต้าน โดยเฉพาะสหพันธ์สมาคมกรีฑานานาชาติ (International Association of Athletics Federations; IAAF) ถึงกับประกาศขู่ว่า หากนักกรีฑาของชาติใด เข้าร่วมแข่งขันเอเชียนเกมส์คราวนี้ สหพันธ์ฯจะกีดกันไม่ให้เข้าแข่งขัน ในกีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 22 ประจำปี พ.ศ. 2523 (ค.ศ. 1980) ซึ่งส่งผลกระทบให้นักกีฬาหลายชาติ ขอถอนตัวจากการแข่งขันครั้งนี้ยุคสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย ยุคสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย. จากวิกฤตการณ์ดังกล่าว คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติในทวีปเอเชีย ตัดสินใจเปิดการประชุมร่วมกันในวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) โดยไม่มีการแจ้งให้ทางอิสราเอลเข้าร่วมด้วย เพื่อยกร่างแก้ไขธรรมนูญสหพันธ์เอเชียนเกมส์ มีสาระสำคัญคือ การจัดตั้งสมาคมบริหารจัดการเอเชียนเกมส์ขึ้นใหม่ เรียกว่า สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย และก่อตั้งอย่างเป็นทางการ ระหว่างการประชุมครั้งแรกของสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) ที่กรุงนิวเดลี ก่อนการแข่งขันครั้งที่ 9 ซึ่งจัดขึ้นที่เมืองหลวงของอินเดียตามกำหนดเดิม โดยไม่มีการยกเลิกกำหนดการต่าง ๆ ซึ่งสหพันธ์กีฬาเอเชียจัดทำไว้แล้ว และมีสมาชิกชุดก่อตั้ง เป็นคณะกรรมการโอลิมปิกของ 34 ชาติ จากนั้นสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย จึงเริ่มรับหน้าที่กำกับดูแลเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 10 ซึ่งโซลของเกาหลีใต้เป็นเจ้าภาพ เมื่อปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) เป็นครั้งแรก มาจนถึงปัจจุบัน ส่วนจีนไทเปกลับเข้าร่วมในครั้งที่ 11 ที่กรุงปักกิ่งของจีน เมื่อปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) ในการแข่งขันครั้งที่ 12 ซึ่งจัดขึ้นที่นครฮิโรชิมาของญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) เป็นครั้งแรกที่มิได้จัดแข่งขันในเมืองหลวงของประเทศ โดยกลุ่มประเทศที่แยกตัวเป็นเอกราชจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ซึ่งประกอบด้วยคาซักสถาน, คีร์กีซสถาน, อุซเบกิสถาน, เติร์กเมนิสถาน และทาจิกิสถาน เข้าร่วมเป็นครั้งแรก ส่วนอิรักมิได้รับการยินยอมให้เข้าร่วม เนื่องจากเป็นชาติที่ก่อสงครามอ่าวเปอร์เซีย เมื่อปี พ.ศ. 2533 และเกาหลีเหนือคว่ำบาตรการแข่งขัน เนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่เป็นปัญหา นอกจากนี้ยังเกิดการสูญเสียผู้แทนจากประเทศเนปาล ณเรศกุมาร์ อธิการี (Nareshkumar Adhikari) ซึ่งเสียชีวิตระหว่างพิธีเปิดการแข่งขัน จากนั้นในปี พ.ศ. 2541 (ค.ศ. 1998) เป็นประวัติศาสตร์ของเอเชียนเกมส์ เมื่อกรุงเทพฯของไทย เป็นเจ้าภาพครั้งที่ 4 โดยพิธีเปิดในสามครั้งแรก มีขึ้นในวันที่ 9 ธันวาคม ส่วนครั้งนี้เปิดในวันที่ 6 แต่ทั้งหมดสิ้นสุดในวันเดียวกันคือ 20 ธันวาคม และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินเป็นประธานในพิธีเปิดทั้งสี่ครั้งการเปลี่ยนแปลงในอนาคต การเปลี่ยนแปลงในอนาคต. จำนวนกีฬาที่แข่งขันจะกำหนดให้ลดน้อยลง เหลือเพียง 35 ชนิดในการแข่งขันครั้งที่ 17 ซึ่งจะจัดขึ้นที่นครอินช็อนของเกาหลีใต้ และคราวนี้จะเป็นครั้งสุดท้ายที่การแข่งขันจะจัดขึ้นตามระยะเวลาเดิม เมื่อโอซีเอผลักดันให้การแข่งขันครั้งถัดไป เกิดขึ้นก่อนกีฬาโอลิมปิกเพียงหนึ่งปี จึงหมายความว่าเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 18 ซึ่งตามปกติจะมีกำหนดจัดในปี พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018) จะผลักดันไปเป็น พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) ในปัจุบันได้มีการยุติการเปลี่ยนระยะเวลาจัดการแข่งขันออกไป จากที่จะจัดการแข่งขันก่อนโอลิมปิกเกมส์เพียงหนึ่งปีเป็นจัดการแข่งขันตามระยะเวลาเดิม เนื่องจากประเทศอินโดนีเซียซึ่งเป็นเจ้าภาพเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 18 ไม่สามารถที่จะจัดภายในปีค.ศ. 2019 ได้ ซึ่งในปีค.ศ. 2019 นั้นได้มีการจัดการเลือกตั้งประธานธิบดีของประเทศอินโดนีเซีย จึงจัดภายในปีค.ศ. 2018 ตามระยะเวลาเดิมแทนสัญลักษณ์ สัญลักษณ์. สภาโอลิมปิกแห่งเอเชียได้มีการใช้สัญลักษณ์เพื่อที่จะใช้ในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ ซึ่งยึดแนวทางตามการแข่งขันโอลิมปิก สัญลักษณ์ของการแข่งขันเอเชียนเกมส์ คือ- ธงสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย - คบเพลิงเอเชียนเกมส์ - เพลงสดุดีสภาโอลิมปิกแห่งเอเชียการจัดแข่งขัน การจัดแข่งขัน. หมายเหตุ- ประเทศไทยรับจัดแทนประเทศเกาหลีใต้ - ประเทศไทยรับจัดแทนประเทศปากีสถาน - ประเทศอินโดนีเซียรับจัดแทนประเทศเวียดนาม
เอเชียนเกมส์เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิดระหว่างประเทศในทวีปใด
{ "answer": [ "เอเชีย" ], "answer_begin_position": [ 174 ], "answer_end_position": [ 180 ] }
3,571
43,785
โกโช อาโอยามะ โกโช อาโอยามะ (; เกิด 21 มิถุนายน พ.ศ. 2506) ชื่อเกิด โยชิมาซะ อาโอยามะ () เป็นนักวาดการ์ตูนญี่ปุ่น ที่มีชื่อเสียงจากการ์ตูนเรื่อง ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน นอกจากนี้เขายังเป็นผู้ออกแบบตัวละครที่เป็นมนุษย์ให้แก่อะนิเมะเรื่อง แฮมทาโร่ แก๊งจิ๋วผจญภัย อีกด้วยสมัยเด็ก สมัยเด็ก. อาโอยามะเกิดเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2506 เมืองไดเอ (ปัจจุบันคือเมืองโฮกูอิ) จังหวัดทตโตริ ประเทศญี่ปุ่น เขาฉายแววความสามารถในการวาดภาพตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยรูป Yukiai War ที่เขาวาดชนะการแข่งขันและได้นำออกแสดงที่ห้างสรรพสินค้าทตโตริไดมารุเขาจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนอิเคอุอิในยูระ และสำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาในคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนิปปอน ในช่วงฤดูหนาว พ.ศ. 2529 เขาเข้าร่วมการประกวดการ์ตูนสำหรับนักเขียนหน้าใหม่ ซึ่งเขาได้รับรางวัลชนะเลิศ นี่ยังเป็นก้าวแรกของเขาที่เป็นจุดเปลี่ยนในชีวิตของเขาในฐานะนักวาดการ์ตูนญี่ปุ่นและนักเขียนอาชีพนักวาดการ์ตูน อาชีพนักวาดการ์ตูน. ผลงานชิ้นแรกของอาโอยามะคือ รอหน่อยนะ () ที่ตีพิมพ์ในนิตยสารการ์ตูนรายสัปดาห์ โชเน็นซันเดย์ ในช่วงฤดูหนาว พ.ศ. 2530 และต่อมา จอมโจรอัจฉริยะ ผลงานอีกชิ้นหนึ่งของอาโอยามะ ก็ได้ลงพิมพ์ลงในนิตยสารเดียวกัน ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 อาโอยามะออกผลงานอีกชิ้นที่ชื่อ ไยบะ และมีมังงะแบบรวมเล่มออกมา 24 เล่ม ต่อมาเขาเปลี่ยนไปออกมังงะประเภทจบในเรื่อง () เช่น ไม้สี่จอมหวด, รวมเรื่องสั้นของโกโช อาโอยามะ, และ ยอดนักสืบจิ๋วโคนันรางวัล รางวัล. ในฐานะนักวาดการ์ตูนญี่ปุ่น อาโอยามะได้รับรางวัล 2 รางวัล ใน พ.ศ. 2535 เขาชนะรางวัล Shogakukan Manga Award สำหรับการ์ตูนแนวโชเน็งจากเรื่อง ไยบะ ต่อมาในปี พ.ศ. 2544 เขาก็ได้รับรางวัลเดิมจากเรื่อง ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน นอกจากนี้ที่บ้านเกิดของเขาที่เมืองโฮกูอิยังมีการจัดทำโครงการฟื้นฟูเมืองให้มีชีวิตชีวา (Machi Okoshi) เพื่อเป็นเกียรติแก่ผลงานมังงะของเขาและชาวเมือง ผลงานที่มาจากโครงการนี้ได้แก่สะพานโคนันข้ามแม่น้ำยูระ และรูปปั้นโคนันในเมือง ซึ่งผลงานนี้เป็นการแสดงความชื่นชม เอโดงาวะ โคนัน ตัวละครที่มีชื่อเสียงที่สุดในเรื่อง ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน ต่อมาเมื่อ 18 มีนาคม พ.ศ. 2550 โรงงานมังงะของโกโช อาโอยามะ (Gosho Aoyama Manga Factory) พิพิธภัณฑ์ที่สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จในอาชีพในฐานะนักวาดการ์ตูนญี่ปุ่นก็ได้เปิดขึ้นที่เมืองโฮกูอิชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. อาโอยามะสมรสกับอิซูมิ อาราอิ (มินามิ ทากายามะ สมาชิกวง TWO-MIX และผู้พากษ์เสียงของโคนันในอะนิเมะ) เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 ต่อมาทั้งคู่หย่าเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2550ผลงานผลงานที่เขียนเองผลงานร่วมผลงาน. ผลงานร่วม. - หุ่นนักรบสู้จ้าวจักรวาล บาคุไรก้า (โกโช อาโอยามะ และ เออิจิ ยามากิชิ) - แฮมทาโร่ แก๊งจิ๋วผจญภัย (อะนิเมะ) (ออกแบบตัวละคร)
ผู้วาดการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน มีชื่อว่าอะไร
{ "answer": [ "โกโช อาโอยามะ" ], "answer_begin_position": [ 100 ], "answer_end_position": [ 113 ] }
3,572
899,110
อีลิทวัน อีลิทวัน () เป็นลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศแคเมอรูน ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1961สโมสรที่เข้าร่วมอีลิทวัน (ฤดูกาล 2017)สโมสรที่เข้าร่วมอีลิทวัน (ฤดูกาล 2017). - Aigle Royal Menoua (Dschang) - APEJES Academy (ยาอุนเด) - Bamboutos FC (Mbouda) - Botafogo FC (ดูอาลา) - Canon Yaoundé (ยาอุนเด) - Cosmos de Bafia (Bafia) - Coton Sport FC (Garoua) - Dragon Club (ยาอุนเด) - Eding Sport FC (Lekié) - Les Astres FC (ดูอาลา) - Lion Blessé (Fotouni) - New Star FC (ดูอาลา) - Panthère du Ndé (Bangangté) - RC Bafoussam (Bafoussam) - UMS de Loum (Njombé) - Union Douala (ดูอาลา) - Unisport FC (Bafang) - YOSA FC (Bamenda)
อีลิทวัน เป็นลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศใด
{ "answer": [ "แคเมอรูน" ], "answer_begin_position": [ 132 ], "answer_end_position": [ 140 ] }
3,573
899,110
อีลิทวัน อีลิทวัน () เป็นลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศแคเมอรูน ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1961สโมสรที่เข้าร่วมอีลิทวัน (ฤดูกาล 2017)สโมสรที่เข้าร่วมอีลิทวัน (ฤดูกาล 2017). - Aigle Royal Menoua (Dschang) - APEJES Academy (ยาอุนเด) - Bamboutos FC (Mbouda) - Botafogo FC (ดูอาลา) - Canon Yaoundé (ยาอุนเด) - Cosmos de Bafia (Bafia) - Coton Sport FC (Garoua) - Dragon Club (ยาอุนเด) - Eding Sport FC (Lekié) - Les Astres FC (ดูอาลา) - Lion Blessé (Fotouni) - New Star FC (ดูอาลา) - Panthère du Ndé (Bangangté) - RC Bafoussam (Bafoussam) - UMS de Loum (Njombé) - Union Douala (ดูอาลา) - Unisport FC (Bafang) - YOSA FC (Bamenda)
ลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศแคเมอรูนชื่อว่า อีลิทวัน ก่อตั้งขึ้นในปีค.ศ.ใด
{ "answer": [ "1961" ], "answer_begin_position": [ 158 ], "answer_end_position": [ 162 ] }
3,574
445,845
ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน เป็นบทประพันธ์แนวนวนิยายของประภัสสร เสวิกุล เคยถูกนำไปดัดแปลงเป็นการแสดงมาแล้ว 3 ครั้งเนื้อเรื่อง เนื้อเรื่อง. วายุ ภูบาลบริรักษ์ หรือ ล่องจุ๊น เป็นลูกชายคนกลางของครอบครัวที่พ่อ ไม่เคยให้ความสนใจใยดีเลยแม้แต่น้อย ก็เพราะพ่อคิดว่าล่องจุ๊นเกิดมาเป็นตัวซวยของครอบครัว จึงให้ชื่อว่า "ล่องจุ๊น" ทั้ง ๆ ที่เป็นคนไทยแท้ ๆ เพราะเกิดมาในช่วงที่พ่อต้องขาดทุนกับธุรกิจถมที่ ซึ่งต่างจากพี่น้องอีก 2 คนนั้นคือ พี่ถม พี่ชาย และกี้ น้องชาย ต่อมาครอบครัวภูบาลบริรักษ์มีปัญหา ล่องจุ๊นต้องต่อสู้กับชีวิต ที่โดนตราหน้าว่าเป็นตัวซวยกับโชคชะตา ที่สุดล่องจุ๊นก็สามารถทำให้ทุกคนยอมรับได้และครอบครัวกลับมาอบอุ่นอีกครั้งการแสดง การแสดง. ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน เคยถูกดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์แล้ว 2 ครั้ง และภาพยนตร์ 1 ครั้ง ในชื่อ ล่องจุ๊น- ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน ละครโทรทัศน์ทางช่อง 7 (12 เมษายน 2538 - 22 มิถุนายน 2538)นำแสดงโดย ศรราม เทพพิทักษ์ (จุ๊น), สุทธิดา เกษมสันต์ ณ อยุธยา (แตงกวา), ปัญญา นิรันดร์กุล (พ่อ), สุรัตนา ข้องตระกูล (แม่), ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์ (นิด), เอก โอรี (แป๊ะ), ธานินทร์ ทัพมงคล (ทองเส็ง), อัษฎาวุธ เหลืองสุนทร (ถม), ศศลักษณ์ พันธุ์หาญ (นก), ธีรศักดิ์ พันธุ์จริยา (ลักกี้) เพลงประกอบละครโดย สร่างศัลย์ เรืองศรี กำกับโดย ฐาปกรณ์ ดิษยนันทน์ สร้างโดย บริษัท กันตนา กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)- ล่องจุ๊น ภาพยนตร์โดย อาร์.เอส.ฟิล์ม (27 ธันวาคม พ.ศ. 2539) นำแสดงโดย สมชาย เข็มกลัด (จุ๊น), เกรียงไกร อังคุณชัย (ลักกี้), สรพงษ์ ชาตรี (พ่อ), อุบลวรรณ บุญรอด (แตงกวา), สุเชาว์ พงษ์วิไล (ทองเส็ง), กาญจนาพร ปลอดภัย (แม่), อรรถพร ธีมากร (นก), สุธี วงศ์นำทรัพย์ (แป๊ะ), อภิญญา จิตเมธากุล (นิด) กำกับโดย กมล ศรีสวัสดิ์- ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน ละครโทรทัศน์ทางช่อง 9 (พ.ศ. 2546) นำแสดงโดย พนมกร ตังทัตสวัสดิ์ (จุ๊น), พิมพ์มาดา บริรักษ์ศุภกร (แตงกวา), มนตรี เจนอักษร (พ่อ), ธัญญา วชิรบรรจง (แม่), คริสโตเฟอร์ วอชิงตัน (แป๊ะ), กีรติ เทพธัญญ์ (นก), กิตติ บุลสถาพร (ลักกี้), ตรีพล พรมสุวรรณ (ถม) สร้างโดย บริษัท เอ็กแซ็กท์
ใครคือผู้ประพันธ์นวนิยายเรื่องขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน
{ "answer": [ "ประภัสสร เสวิกุล" ], "answer_begin_position": [ 188 ], "answer_end_position": [ 204 ] }
3,575
445,845
ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน เป็นบทประพันธ์แนวนวนิยายของประภัสสร เสวิกุล เคยถูกนำไปดัดแปลงเป็นการแสดงมาแล้ว 3 ครั้งเนื้อเรื่อง เนื้อเรื่อง. วายุ ภูบาลบริรักษ์ หรือ ล่องจุ๊น เป็นลูกชายคนกลางของครอบครัวที่พ่อ ไม่เคยให้ความสนใจใยดีเลยแม้แต่น้อย ก็เพราะพ่อคิดว่าล่องจุ๊นเกิดมาเป็นตัวซวยของครอบครัว จึงให้ชื่อว่า "ล่องจุ๊น" ทั้ง ๆ ที่เป็นคนไทยแท้ ๆ เพราะเกิดมาในช่วงที่พ่อต้องขาดทุนกับธุรกิจถมที่ ซึ่งต่างจากพี่น้องอีก 2 คนนั้นคือ พี่ถม พี่ชาย และกี้ น้องชาย ต่อมาครอบครัวภูบาลบริรักษ์มีปัญหา ล่องจุ๊นต้องต่อสู้กับชีวิต ที่โดนตราหน้าว่าเป็นตัวซวยกับโชคชะตา ที่สุดล่องจุ๊นก็สามารถทำให้ทุกคนยอมรับได้และครอบครัวกลับมาอบอุ่นอีกครั้งการแสดง การแสดง. ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน เคยถูกดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์แล้ว 2 ครั้ง และภาพยนตร์ 1 ครั้ง ในชื่อ ล่องจุ๊น- ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน ละครโทรทัศน์ทางช่อง 7 (12 เมษายน 2538 - 22 มิถุนายน 2538)นำแสดงโดย ศรราม เทพพิทักษ์ (จุ๊น), สุทธิดา เกษมสันต์ ณ อยุธยา (แตงกวา), ปัญญา นิรันดร์กุล (พ่อ), สุรัตนา ข้องตระกูล (แม่), ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์ (นิด), เอก โอรี (แป๊ะ), ธานินทร์ ทัพมงคล (ทองเส็ง), อัษฎาวุธ เหลืองสุนทร (ถม), ศศลักษณ์ พันธุ์หาญ (นก), ธีรศักดิ์ พันธุ์จริยา (ลักกี้) เพลงประกอบละครโดย สร่างศัลย์ เรืองศรี กำกับโดย ฐาปกรณ์ ดิษยนันทน์ สร้างโดย บริษัท กันตนา กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)- ล่องจุ๊น ภาพยนตร์โดย อาร์.เอส.ฟิล์ม (27 ธันวาคม พ.ศ. 2539) นำแสดงโดย สมชาย เข็มกลัด (จุ๊น), เกรียงไกร อังคุณชัย (ลักกี้), สรพงษ์ ชาตรี (พ่อ), อุบลวรรณ บุญรอด (แตงกวา), สุเชาว์ พงษ์วิไล (ทองเส็ง), กาญจนาพร ปลอดภัย (แม่), อรรถพร ธีมากร (นก), สุธี วงศ์นำทรัพย์ (แป๊ะ), อภิญญา จิตเมธากุล (นิด) กำกับโดย กมล ศรีสวัสดิ์- ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน ละครโทรทัศน์ทางช่อง 9 (พ.ศ. 2546) นำแสดงโดย พนมกร ตังทัตสวัสดิ์ (จุ๊น), พิมพ์มาดา บริรักษ์ศุภกร (แตงกวา), มนตรี เจนอักษร (พ่อ), ธัญญา วชิรบรรจง (แม่), คริสโตเฟอร์ วอชิงตัน (แป๊ะ), กีรติ เทพธัญญ์ (นก), กิตติ บุลสถาพร (ลักกี้), ตรีพล พรมสุวรรณ (ถม) สร้างโดย บริษัท เอ็กแซ็กท์
ภาพยนตร์เรื่องล่องจุ๊น ที่เข้าฉายเมื่อปี พ.ศ. 2539 ดัดแปลงมาจากนวนิยายเรื่องอะไร
{ "answer": [ "ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน" ], "answer_begin_position": [ 132 ], "answer_end_position": [ 160 ] }
3,576
194,464
ปัสสาวะ ปัสสาวะ (ภาษาปากว่า ฉี่, เยี่ยว หรือ เบา) เป็นของเสียในรูปของเหลวที่ร่างกายขับถ่ายออกมาโดยไต ด้วยกระบวนการกรองจากเลือดและขับออกทางท่อปัสสาวะ ซึ่งเป็นผลจากกระบวนการสร้างและสลายในระดับเซลล์ (cellular metabolism) แล้วทำให้เกิดสารประกอบไนโตรเจนที่เป็นของเสียจำนวนมาก ซึ่งจำเป็นต้องกำจัดออกจากกระแสเลือดพิษ พิษ. ปัสสาวะไม่เป็นพิษ แม้ปัสสาวะประกอบด้วยสารเคมีที่ร่างกายไม่ต้องการ ซึ่งสามารถทำให้ระคายเคืองผิวหนังและตาได้ แต่ถ้าหากผ่านกระบวนการกรองที่เหมาะสม จะสามารถสกัดน้ำออกมาเป็นน้ำดื่มได้ อย่างเช่นน้ำดื่มของนักบินอวกาศลักษณเฉพาะ ลักษณเฉพาะ. ปัสสาวะทั่วไปอาจมีสีแตกต่างกันตั้งแต่ใสไม่มีสีจนถึงสีอำพันเข้ม ขึ้นอยู่กับระดับความอวบน้ำ (hydration) ของร่างกายและองค์ประกอบอื่น ๆการวิเคราะห์ทางเคมี การวิเคราะห์ทางเคมี. ส่วนประกอบของปัสสาวะ มีดังนี้ ดร.ฟารอน นักชีวเคมีได้วิจัยสารต่างๆ ในปัสสาวะพบว่า 95% เป็นน้ำ 2.5 % เป็นยูเรีย อีก 2.5% เป็นสารอื่นๆ ถ้าแยกส่วนประกอบที่เป็นมิลลิกรัมออกมาในน้ำปัสสาวะ 100 ซีซี จะพบว่ามี1. Urea Nitrogen 682มิลลิกรัม 2. Urea 1,459มิลลิกรัม 3. Creatinin Nitrogen 36มิลลิกรัม 4. Creatinin 97มิลลิกรัม 5. Uric acid nitrogen 12.30มิลลิกรัม 6. Uric acid 36.90มิลลิกรัม 7. Amino nitrogen 9.70มิลลิกรัม 8. Ammonia nit 57มิลลิกรัม 9. Sodium 212มิลลิกรัม 10. Potassium 137มิลลิกรัม 11. Calcium 19.50มิลลิกรัม 12. Magnesium 11.30มิลลิกรัม 13. Chloride 314มิลลิกรัม 14. Total sulphate 91มิลลิกรัม 15. Inorganic sulphate 83มิลลิกรัม 16. Inorganic phosphate 127มิลลิกรัม นอกจากนี้ยังมีสารอื่นๆ อีก ดังนี้1. เอนไซม์ ได้แก่1. Amylase(diastase) 2. Lactic dyhydrogenate(LDH) 3. Leucine amino-peptdase(LAP) 4. Urokinase เป็นสารละลายลิ่มเลือด รักษาเส้นเลือดอุดตัน โรคเลือดจาง 2. ฮอร์โมน ได้แก่1. Catecholamines 2. 17-Catosteroids 3. Hydroxysteroids 4. Erytropoietine สารกระตุ้นไขกระดูกให้สร้างเม็ดเลือดแดง 5. Adenylate cyclase ประสานการทำงานของฮอร์โมนหลายชนิดในร่างกาย โดยผ่านการทำงานของสาร cyclic AMP 6. Prostaglandin เป็นสารประจำถิ่นในเนื้อเยื่อหลายชนิด ควบคุมการอักเสบ การรับรู้ความปวด การจับตัวของลิ่มเลือด ช่วยการทำงานของมดลูก 3. ฮอร์โมนเพศ ช่วยสร้างความกระชุ่มกระชวย ผิวพรรณดี ลดรอยย่นและความหย่อนยานสร้างสุขภาพจิตที่ดี ลดคลอเรสเตอรอลในเลือด ป้องกันกระดูกผุ 4. อินซูลิน (Insulin) คนที่เป็นเบาหวานจะได้อินซูลินเข้าไปช่วยเสริมสร้างการเจริญอาหาร 5. ฮอร์โมนเมลาโทนิน (Melatonin) พบในปัสสาวะตอนเช้า สารนี้ช่วยให้จิตใจสงบ ลดความกระวนกระวาย หลับสบาย Urea เป็นสารขับปัสสาวะ เป็นสารต้านอักเสบ ต้านไวรัส และแบคทีเรีย ผิวหนังอ่อนเยาว์ สารยูเรียยังช่วยขจัดเชื้อแบคทีเรียที่ไม่ดี ในทางเดินอาหารของผู้ป่วยโรคทางเดินอาหารอีกด้วย Uric acid สารต้านอนุมูลอิสระ ต้านมะเร็ง อินเตอร์เฟอรอน เป็นโปรตีนชนิดหนึ่ง ที่ร่างกายสร้างขึ้นมาเพื่อใช้กำจัดเชื้อก่อโรคโดยเฉพาะอย่างยิ่งเชื้อไวรัส รักษาโรคเอดส์สีที่ผิดปกติ สีที่ผิดปกติ. สีน้ำตาล เกิดจากการดื่มน้ำน้อย ทำให้มีของเสียปะปนกับปัสสาวะเยอะ ปกติจึงต้องดื่มน้ำเยอะๆ ทำให้ปัสสาวะมีสีใสกลิ่น กลิ่น. ปัสสาวะของคนเราและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมล้วนมีกลิ่นคาวเพราะมีกรดยูเรียอยู่ภายในปัสสาวะความขุ่นมัวความเป็นกรดเบส ความเป็นกรดเบส. ปัสสาวะของคนเราและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีความเป็นกรดทั้งนั้นปริมาตรความหนาแน่นปัสสาวะในทางการแพทย์การตรวจสอบ ปัสสาวะในทางการแพทย์. การตรวจสอบ. การตรวจน้ำตาลในปัสสาวะเราสามารถใช้สารละลายเบเนดิกต์ตวจสอบได้แร่ธาตุประโยชน์อื่นยุคโบราณประโยชน์อื่น. ยุคโบราณ. - ในสมัยโบราณ ชาวโรมัน ใช้ปัสสาวะในการเป็นสารฟอกขาวเสื้อผ้าและฟัน - ใน สกอตแลนด์ เคยใช้ปัสสาวะในการป้องกันผ้าขนสัตว์หดตัวปุ๋ย ปุ๋ย. ยูเรียสิ่งทอการเกษตรพลังงานการเอาตัวรอดประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. แต่เดิมมาคนยุคโบราณคิดว่าสีเหลืองของปัสสาวะมาจากแร่ทองคำ นักเล่นแร่แปรธาตุสมัยนั้นได้ใช้เวลานานมากในการที่สกัดเอาแร่ทองคำออกมาจากปัสสาวะเสียให้ได้ แต่ความพยายามดังกล่าวกลับทำให้เกิดการค้นพบฟอสฟอรัสขาว ซึ่งค้นพบโดยนักเล่นแร่แปรธาตุชาวเยอรมัน วิคเตอร์ แวนาโนวิกซ์ (Victor Wernanowicz) ใน พ.ศ. 2212 (ค.ศ. 1669) ขณะที่เขากำลังกลั่นปัสสาวะหมัก และใน พ.ศ. 2316 (ค.ศ. 1773) อิแลร์ รูแอลล์ อิแลร์ มาแรง รูแอลล์ (Hilaire Marin Rouelle) เป็นชาวฝรั่งเศส มีชีวิตใน ค.ศ. 1718 – 1779 รู้จักกันในนาม "เลอ กาเด้" (le cadet) (ซึ่งหมายความว่า "ผู้น้อง") ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกเพื่อให้แตกต่างจากพี่ชายที่ชื่อ กิวลูมม์ ฟรองซัว รูแอลล์ (Guillaume-François Rouelle) ซึ่งเป็นนักเคมีเหมือนกับตัวเขาเอง ใน ค.ศ. 1773 เขาได้ค้นพบสารประกอบอินทรีย์ชนิดใหม่ที่เรียกว่า ยูเรียได้ค้นพบสารประกอบอินทรีย์ชนิดใหม่จากการต้มปัสสาวะแห้งขึ้นซึ่งเรียกว่า ยูเรีย
ปัสสาวะเป็นของเสียที่ร่างกายขับถ่ายออกมาโดยอวัยวะส่วนใด
{ "answer": [ "ไต" ], "answer_begin_position": [ 180 ], "answer_end_position": [ 182 ] }
3,577
194,464
ปัสสาวะ ปัสสาวะ (ภาษาปากว่า ฉี่, เยี่ยว หรือ เบา) เป็นของเสียในรูปของเหลวที่ร่างกายขับถ่ายออกมาโดยไต ด้วยกระบวนการกรองจากเลือดและขับออกทางท่อปัสสาวะ ซึ่งเป็นผลจากกระบวนการสร้างและสลายในระดับเซลล์ (cellular metabolism) แล้วทำให้เกิดสารประกอบไนโตรเจนที่เป็นของเสียจำนวนมาก ซึ่งจำเป็นต้องกำจัดออกจากกระแสเลือดพิษ พิษ. ปัสสาวะไม่เป็นพิษ แม้ปัสสาวะประกอบด้วยสารเคมีที่ร่างกายไม่ต้องการ ซึ่งสามารถทำให้ระคายเคืองผิวหนังและตาได้ แต่ถ้าหากผ่านกระบวนการกรองที่เหมาะสม จะสามารถสกัดน้ำออกมาเป็นน้ำดื่มได้ อย่างเช่นน้ำดื่มของนักบินอวกาศลักษณเฉพาะ ลักษณเฉพาะ. ปัสสาวะทั่วไปอาจมีสีแตกต่างกันตั้งแต่ใสไม่มีสีจนถึงสีอำพันเข้ม ขึ้นอยู่กับระดับความอวบน้ำ (hydration) ของร่างกายและองค์ประกอบอื่น ๆการวิเคราะห์ทางเคมี การวิเคราะห์ทางเคมี. ส่วนประกอบของปัสสาวะ มีดังนี้ ดร.ฟารอน นักชีวเคมีได้วิจัยสารต่างๆ ในปัสสาวะพบว่า 95% เป็นน้ำ 2.5 % เป็นยูเรีย อีก 2.5% เป็นสารอื่นๆ ถ้าแยกส่วนประกอบที่เป็นมิลลิกรัมออกมาในน้ำปัสสาวะ 100 ซีซี จะพบว่ามี1. Urea Nitrogen 682มิลลิกรัม 2. Urea 1,459มิลลิกรัม 3. Creatinin Nitrogen 36มิลลิกรัม 4. Creatinin 97มิลลิกรัม 5. Uric acid nitrogen 12.30มิลลิกรัม 6. Uric acid 36.90มิลลิกรัม 7. Amino nitrogen 9.70มิลลิกรัม 8. Ammonia nit 57มิลลิกรัม 9. Sodium 212มิลลิกรัม 10. Potassium 137มิลลิกรัม 11. Calcium 19.50มิลลิกรัม 12. Magnesium 11.30มิลลิกรัม 13. Chloride 314มิลลิกรัม 14. Total sulphate 91มิลลิกรัม 15. Inorganic sulphate 83มิลลิกรัม 16. Inorganic phosphate 127มิลลิกรัม นอกจากนี้ยังมีสารอื่นๆ อีก ดังนี้1. เอนไซม์ ได้แก่1. Amylase(diastase) 2. Lactic dyhydrogenate(LDH) 3. Leucine amino-peptdase(LAP) 4. Urokinase เป็นสารละลายลิ่มเลือด รักษาเส้นเลือดอุดตัน โรคเลือดจาง 2. ฮอร์โมน ได้แก่1. Catecholamines 2. 17-Catosteroids 3. Hydroxysteroids 4. Erytropoietine สารกระตุ้นไขกระดูกให้สร้างเม็ดเลือดแดง 5. Adenylate cyclase ประสานการทำงานของฮอร์โมนหลายชนิดในร่างกาย โดยผ่านการทำงานของสาร cyclic AMP 6. Prostaglandin เป็นสารประจำถิ่นในเนื้อเยื่อหลายชนิด ควบคุมการอักเสบ การรับรู้ความปวด การจับตัวของลิ่มเลือด ช่วยการทำงานของมดลูก 3. ฮอร์โมนเพศ ช่วยสร้างความกระชุ่มกระชวย ผิวพรรณดี ลดรอยย่นและความหย่อนยานสร้างสุขภาพจิตที่ดี ลดคลอเรสเตอรอลในเลือด ป้องกันกระดูกผุ 4. อินซูลิน (Insulin) คนที่เป็นเบาหวานจะได้อินซูลินเข้าไปช่วยเสริมสร้างการเจริญอาหาร 5. ฮอร์โมนเมลาโทนิน (Melatonin) พบในปัสสาวะตอนเช้า สารนี้ช่วยให้จิตใจสงบ ลดความกระวนกระวาย หลับสบาย Urea เป็นสารขับปัสสาวะ เป็นสารต้านอักเสบ ต้านไวรัส และแบคทีเรีย ผิวหนังอ่อนเยาว์ สารยูเรียยังช่วยขจัดเชื้อแบคทีเรียที่ไม่ดี ในทางเดินอาหารของผู้ป่วยโรคทางเดินอาหารอีกด้วย Uric acid สารต้านอนุมูลอิสระ ต้านมะเร็ง อินเตอร์เฟอรอน เป็นโปรตีนชนิดหนึ่ง ที่ร่างกายสร้างขึ้นมาเพื่อใช้กำจัดเชื้อก่อโรคโดยเฉพาะอย่างยิ่งเชื้อไวรัส รักษาโรคเอดส์สีที่ผิดปกติ สีที่ผิดปกติ. สีน้ำตาล เกิดจากการดื่มน้ำน้อย ทำให้มีของเสียปะปนกับปัสสาวะเยอะ ปกติจึงต้องดื่มน้ำเยอะๆ ทำให้ปัสสาวะมีสีใสกลิ่น กลิ่น. ปัสสาวะของคนเราและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมล้วนมีกลิ่นคาวเพราะมีกรดยูเรียอยู่ภายในปัสสาวะความขุ่นมัวความเป็นกรดเบส ความเป็นกรดเบส. ปัสสาวะของคนเราและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีความเป็นกรดทั้งนั้นปริมาตรความหนาแน่นปัสสาวะในทางการแพทย์การตรวจสอบ ปัสสาวะในทางการแพทย์. การตรวจสอบ. การตรวจน้ำตาลในปัสสาวะเราสามารถใช้สารละลายเบเนดิกต์ตวจสอบได้แร่ธาตุประโยชน์อื่นยุคโบราณประโยชน์อื่น. ยุคโบราณ. - ในสมัยโบราณ ชาวโรมัน ใช้ปัสสาวะในการเป็นสารฟอกขาวเสื้อผ้าและฟัน - ใน สกอตแลนด์ เคยใช้ปัสสาวะในการป้องกันผ้าขนสัตว์หดตัวปุ๋ย ปุ๋ย. ยูเรียสิ่งทอการเกษตรพลังงานการเอาตัวรอดประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. แต่เดิมมาคนยุคโบราณคิดว่าสีเหลืองของปัสสาวะมาจากแร่ทองคำ นักเล่นแร่แปรธาตุสมัยนั้นได้ใช้เวลานานมากในการที่สกัดเอาแร่ทองคำออกมาจากปัสสาวะเสียให้ได้ แต่ความพยายามดังกล่าวกลับทำให้เกิดการค้นพบฟอสฟอรัสขาว ซึ่งค้นพบโดยนักเล่นแร่แปรธาตุชาวเยอรมัน วิคเตอร์ แวนาโนวิกซ์ (Victor Wernanowicz) ใน พ.ศ. 2212 (ค.ศ. 1669) ขณะที่เขากำลังกลั่นปัสสาวะหมัก และใน พ.ศ. 2316 (ค.ศ. 1773) อิแลร์ รูแอลล์ อิแลร์ มาแรง รูแอลล์ (Hilaire Marin Rouelle) เป็นชาวฝรั่งเศส มีชีวิตใน ค.ศ. 1718 – 1779 รู้จักกันในนาม "เลอ กาเด้" (le cadet) (ซึ่งหมายความว่า "ผู้น้อง") ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกเพื่อให้แตกต่างจากพี่ชายที่ชื่อ กิวลูมม์ ฟรองซัว รูแอลล์ (Guillaume-François Rouelle) ซึ่งเป็นนักเคมีเหมือนกับตัวเขาเอง ใน ค.ศ. 1773 เขาได้ค้นพบสารประกอบอินทรีย์ชนิดใหม่ที่เรียกว่า ยูเรียได้ค้นพบสารประกอบอินทรีย์ชนิดใหม่จากการต้มปัสสาวะแห้งขึ้นซึ่งเรียกว่า ยูเรีย
การที่ปัสสาวะเป็นสีน้ำตาลมีสาเหตุมาจากอะไร
{ "answer": [ "ดื่มน้ำน้อย" ], "answer_begin_position": [ 2722 ], "answer_end_position": [ 2733 ] }
3,578
48,395
บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย รองศาสตราจารย์ บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช อดีตหัวหน้าพรรคถิ่นไทย อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหญิง (ในสมัย ดร.พิจิตต รัตตกุล) และในสมัยนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน โดยเข้ารับตำแหน่งรองผู้ว่าฝ่ายโยธาครั้งที่สอง แทน ดร.สามารถ ราชพลสิทธิ์ในเมื่อต้นปี 2549การศึกษา การศึกษา. รองศาสตราจารย์ บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย หรือ รองศาสตราจารย์ ดร.บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย จบการศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับสอง จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโทและเอกด้านการวางแผนภาคและผังเมือง (M.R.P.,Ph.D.-City and Regional Planning) จากมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ผลงาน ผลงาน. รองศาสตราจารย์ ดร.บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย มีผลงานวิจัยด้านการผังเมืองหลายโครงการ ได้รับเชิดชูเกียรติจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นศาสตราภิชาน ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2551 -30 กันยายน 2553 ในสาขาวิชาเคหการ วิชาการวางแผนภาคและเมือง ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2554 ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
รองศาสตราจารย์ บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย เคยเป็นหัวหน้าพรรคการเมืองใด
{ "answer": [ "พรรคถิ่นไทย" ], "answer_begin_position": [ 297 ], "answer_end_position": [ 308 ] }
3,579
180,132
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัญจบเบญจมา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัญจบเบญจมา หรือสะกดว่า บรรจบเบญจมา (5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 — 13 กันยายน พ.ศ. 2435) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดาแพ (สกุลเดิม: ธรรมสโรช) เหตุที่ได้พระนามว่า "บัญจบเบญจมา" นั้น เนื่องจากเจ้าจอมมารดาแพ พระมารดาได้ถึงอสัญกรรมหลังประสูติการพระองค์ ดังปรากฏในพระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปัทมราช ความว่า "วันอังคารขึ้นสามค่ำเดือนสิบสองนางแพมารดายิ่งเยาวลักษณ์ แลภักตรพิมลพรรณ แลเกษมสันต์โสภาคย์ แลมนุษยนาคมานพนั้นคลอดบุตรเป็นหญิงออกแล้วครรภมล (รก) ไม่ออกตั้งแต่เวลาห้าทุ่ม หกบาทไป หมอแก้ไขหลายหมอก็ไม่ออก ครั้นเวลาเจ็ดทุ่มก็ตั้งหอบตาตั้ง ครั้นเวลาสามยามหมอบรัดเลอเมริกาเข้าชักครรภมลออกได้ แต่เมื่อนั้นอาการหนักชีพจรอ่อนเสียแล้วแก้ไม่ฟื้น ครั้นเวลาสามยามสี่บาทก็ขาดใจตาย ได้เอาศพไปฝังไว้วัดสมอราย แต่บุตรนั้นดีอยู่" ด้วยเหตุนี้พระราชบิดาจึงพระราชทานพระนามให้ว่า "บัญจบเบญจมา" ซึ่งแปลว่าสิ้นสุดพระองค์ที่ห้า และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าพระราชทานให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุตรี กรมหลวงวรเสรฐสุดาทรงอภิบาลเป็นสิทธิ์ขาด ตั้งแต่วันประสูติ ณ พระตำหนักของท่าน เช่นเดียวกับสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส พระเชษฐา ด้วยมารดาของทั้งสองเป็นญาติกับเจ้าจอมมารดาอึ่ง พระมารดาพระองค์เจ้าบุตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัญจบเบญจมา ทรงพระกรรษะตกพระโลหิต (ไอเป็นเลือด) เรื้อรังมานาน ไม่ทราบพระโรคแน่ชัด แพทย์แผนตะวันตกสันนิษฐานว่าประชวรพระโรคในปอด ส่วนแพทย์แผนไทยว่าเป็นโทษพระเสมหะและพระโลหิตอุลบทำพิษ บ้างก็ว่าเป็นวัณโรคภายในบ้าง หริศโรคบ้าง สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2435 สิริพระชนมายุ 30 พรรษา พระราชทานเพลิงศพ ณ วัดสระเกศ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2438 พร้อมกับพระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคพรรณพงศาวลี
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัญจบเบญจมา เป็นพระราชธิดาของกษัตริย์ไทยองค์ใด
{ "answer": [ "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" ], "answer_begin_position": [ 284 ], "answer_end_position": [ 318 ] }
3,580
33,557
สาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน (; ) เป็นประเทศหนึ่งในทวีปอเมริกาเหนือ ตั้งอยู่บนพื้นที่ 2 ใน 3 ทางทิศตะวันออกของเกาะฮิสปันโยลาซึ่งขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในหมู่เกาะเกรตเตอร์แอนทิลลีส เกาะนี้ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน ทางทิศตะวันตกของเปอร์โตริโก และอยู่ทางทิศตะวันออกของคิวบาและจาเมกา โดยสาธารณรัฐโดมินิกันมีอาณาเขตจรดเฮติทางทิศตะวันตก สาธารณรัฐโดมินิกันเป็นคนละประเทศกับดอมินีกา ซึ่งเป็นประเทศในทะเลแคริบเบียนอีกประเทศหนึ่งภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. สาธารณรัฐโดมินิกันตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเกาะฮิสปันโยลา ซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่เป็นอันดับสองในทะเลแคริบเบียนรองจากเกาะคิวบา โดยเกาะได้ถูกแบ่งเป็นประเทศเฮติทางทิศตะวันตก สาธารณะรัฐโดมินิกันมีพื้นที่ประมาณ 48,442 ตารางกิโลเมตร ทำให้เป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองในหมู่เกาะทะเลแคริบเบียนรองจากคิวบาอีกด้วย เมืองหลวงคือซานโตโดมิงโกตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเกาะ พื้นที่ทั้งหมดของประเทศตั้งอยู่ในเขตร้อนจึงทำให้มีภูมิอากาศแบบร้อนชื้น และยังได้รับอิทธิพลจากพายุเฮอร์ริเคนในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนพฤศจิกายนประวัติศาสตร์สมัยก่อนอาณานิคมสมัยอาณานิคมเอกราชและสงครามการเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง. รูปแบบการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย โดยใช้ระบบรัฐสภาและประธานาธิบดีแบบเดียวกันกับสหรัฐอเมริกา ประมุขของประเทศ ประธานาธิบดี ซึ่งดำรงตำแหน่งทั้งประมุขของรัฐและประมุขของรัฐบาล มีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี โดยประธานาธิบดีคนปัจจุบัน ได้แก่ นาย Leonel Fernández Reyna ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งนี้เป็นสมัยที่ 3 เมื่อปี 2551 (สมัยแรก ปี 2539 และสมัยที่สอง ปี 2547) และการเลือกตั้งครั้งต่อไปจะมีขึ้นในปี 2555บริหาร บริหาร. ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดีเป็นผู้นำฝ่ายบริหาร โดยมีอำนาจแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี รัฐบาลชุดปัจจุบันนำโดยพรรค PLD ซึ่งครองเสียงข้างมากในรัฐสภาด้วยนิติบัญญัติ นิติบัญญัติ. ฝ่ายนิติบัญญัติ เป็นระบบสภาคู่ ซึ่งได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน โดยมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปี ประกอบด้วยวุฒิสภา ซึ่งมีสมาชิก 32 คน โดยมีที่มาจากการเลือกตั้งใน 31 จังหวัดๆ ละ 1 คน และเขตประเทศ 1 คน ส่วนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน 183 คนตุลาการ
สาธารณรัฐโดมินิกันอยู่ในทวีปใด
{ "answer": [ "อเมริกาเหนือ" ], "answer_begin_position": [ 155 ], "answer_end_position": [ 167 ] }
3,581
33,557
สาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน (; ) เป็นประเทศหนึ่งในทวีปอเมริกาเหนือ ตั้งอยู่บนพื้นที่ 2 ใน 3 ทางทิศตะวันออกของเกาะฮิสปันโยลาซึ่งขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในหมู่เกาะเกรตเตอร์แอนทิลลีส เกาะนี้ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน ทางทิศตะวันตกของเปอร์โตริโก และอยู่ทางทิศตะวันออกของคิวบาและจาเมกา โดยสาธารณรัฐโดมินิกันมีอาณาเขตจรดเฮติทางทิศตะวันตก สาธารณรัฐโดมินิกันเป็นคนละประเทศกับดอมินีกา ซึ่งเป็นประเทศในทะเลแคริบเบียนอีกประเทศหนึ่งภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. สาธารณรัฐโดมินิกันตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเกาะฮิสปันโยลา ซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่เป็นอันดับสองในทะเลแคริบเบียนรองจากเกาะคิวบา โดยเกาะได้ถูกแบ่งเป็นประเทศเฮติทางทิศตะวันตก สาธารณะรัฐโดมินิกันมีพื้นที่ประมาณ 48,442 ตารางกิโลเมตร ทำให้เป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองในหมู่เกาะทะเลแคริบเบียนรองจากคิวบาอีกด้วย เมืองหลวงคือซานโตโดมิงโกตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเกาะ พื้นที่ทั้งหมดของประเทศตั้งอยู่ในเขตร้อนจึงทำให้มีภูมิอากาศแบบร้อนชื้น และยังได้รับอิทธิพลจากพายุเฮอร์ริเคนในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนพฤศจิกายนประวัติศาสตร์สมัยก่อนอาณานิคมสมัยอาณานิคมเอกราชและสงครามการเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง. รูปแบบการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย โดยใช้ระบบรัฐสภาและประธานาธิบดีแบบเดียวกันกับสหรัฐอเมริกา ประมุขของประเทศ ประธานาธิบดี ซึ่งดำรงตำแหน่งทั้งประมุขของรัฐและประมุขของรัฐบาล มีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี โดยประธานาธิบดีคนปัจจุบัน ได้แก่ นาย Leonel Fernández Reyna ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งนี้เป็นสมัยที่ 3 เมื่อปี 2551 (สมัยแรก ปี 2539 และสมัยที่สอง ปี 2547) และการเลือกตั้งครั้งต่อไปจะมีขึ้นในปี 2555บริหาร บริหาร. ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดีเป็นผู้นำฝ่ายบริหาร โดยมีอำนาจแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี รัฐบาลชุดปัจจุบันนำโดยพรรค PLD ซึ่งครองเสียงข้างมากในรัฐสภาด้วยนิติบัญญัติ นิติบัญญัติ. ฝ่ายนิติบัญญัติ เป็นระบบสภาคู่ ซึ่งได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน โดยมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปี ประกอบด้วยวุฒิสภา ซึ่งมีสมาชิก 32 คน โดยมีที่มาจากการเลือกตั้งใน 31 จังหวัดๆ ละ 1 คน และเขตประเทศ 1 คน ส่วนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน 183 คนตุลาการ
สาธารณรัฐโดมินิกันเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองในหมู่เกาะทะเลแคริบเบียนรองจากประเทศใด
{ "answer": [ "คิวบา" ], "answer_begin_position": [ 839 ], "answer_end_position": [ 844 ] }
3,582
124,910
พรรคเพื่อแผ่นดิน พรรคเพื่อแผ่นดิน เป็นพรรคการเมืองไทยซึ่งก่อตั้งในกลางปี พ.ศ. 2550 มีนายสุวิทย์ คุณกิตติ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก ในช่วงก่อตั้ง นายสุวิทย์ คุณกิตติ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก ยุทธศาสตร์หาเสียงของพรรคคือ "นำรอยยิ้มกลับสู่สังคมไทย" มีอดีต ส.ส.ภาคอีสานเป็นสมาชิก เช่น กลุ่มของพินิจ จารุสมบัติ ปรีชา เลาหพงศ์ชนะ วัฒนา อัศวเหม โสภณ เพชรสว่าง กลุ่มอดีต ส.ส.กรุงเทพมหานคร ในกลุ่มกรุงเทพ 50 ของสุรนันท์ เวชชาชีวะ รวมทั้งกลุ่มบ้านริมน้ำของสุชาติ ตันเจริญ และกลุ่มทางภาคเหนือของกิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่ อีกด้วย ในส่วนของกลุ่มบุคคลอื่นที่ไม่ได้เป็นนักการเมืองมาก่อน แต่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกพรรคด้วยก็ได้แก่ นายสุระ แสนคำ หรือ เขาทราย แกแล็คซี่ อดีตแชมป์โลกชาวไทย และ นาวาอากาศตรีปิยะพงษ์ ผิวอ่อน อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย เป็นต้น ต่อมาในเดือนเมษายน พ.ศ. 2554 ผู้บริหารของพรรครวมชาติพัฒนา และพรรคเพื่อแผ่นดิน ได้ประกาศรวมตัวกันและตั้งพรรคใหม่ขึ้น ชื่อว่า "พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน" โดยสมาชิกของพรรคเพื่อแผ่นดินจำนวนมาก โดยเฉพาะอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ได้ลาออกจากพรรคเพื่อแผ่นดินและสมัครเข้าเป็นสมาชิกพรรครวมชาติพัฒนา กลางเดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 กรรมการบริหารพรรคเพื่อแผ่นดินมีมติให้ ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี เป็นหัวหน้าพรรค และนำสมาชิกพรรคสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ทั้งแบบบัญชีรายชื่อและแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ในนามพรรคเพื่อแผ่นดิน เบอร์ 53กรรมการบริหารพรรคกรรมการบริหารพรรค (2 ตุลาคม 2550 - 30 ตุลาคม 2551)กรรมการบริหารพรรค (9 ธันวาคม 2551 - 27 มีนาคม 2552)กรรมการบริหารพรรค. กรรมการบริหารพรรค (9 ธันวาคม 2551 - 27 มีนาคม 2552). 1. พลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก หัวหน้าพรรค 2. พลเอก ธงชัย เกื้อสกุล รองหัวหน้าพรรค 3. นายสิทธิชัย จันทร์ธารักษ์ รองหัวหน้าพรรค 4. นายชนม์สวัสดิ์ อัศวเหม รองหัวหน้าพรรค 5. นายรณฤทธิชัย คานเขต รองหัวหน้าพรรค 6. นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง รองหัวหน้าพรรค และเลขาธิการพรรค 7. นายไชยยศ จิรเมธากร โฆษกพรรค การเลือกกกรรมการบริหารพรรคชุดดังกล่าวนี้ มีเรื่องวุ่นวายตามมาซึ่งมีสมาชิกพรรคบางส่วนอ้างว่าการที่พลตำรวจเอกประชา ขึ้นเป็นหัวหน้าพรรค ถือเป็นโมฆะ เนื่องจากผิดข้อบังคับพรรค กระทั่งต้องมีการส่งเรื่องให้คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) พิจารณา โดยพลตำรวจเอกประชายังคงดำรงตำแหน่งเรื่อยมาระหว่างรอผลพิจารณา เรื่องราวได้ลุกลามจนถึงขั้นพยายามลงมติขับพลตำรวจเอกประชาออกจากตำแหน่งในเวลาต่อมา ท้ายสุดผลของการพิจารณาจาก กกต. หลังจากตรวจสอบข้อเท็จจริงเรื่องข้อบังคับต่างๆ มติ กกต.เสียงข้างมากเห็นว่า การประชุมดังกล่าวไม่ชอบด้วย พ.ร.บ.พรรคการเมืองและข้อบังคับพรรคเพื่อแผ่นดิน จึงทำให้มติการเลือกพลตำรวจเอกประชา พรหมนอกเป็นหัวหน้าพรรค ถือเป็นโมฆะกรรมการบริหารพรรค (20 เมษายน 2552 - พ.ศ. 2554)กรรมการบริหารพรรค (20 เมษายน 2552 - พ.ศ. 2554). 1. นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง หัวหน้าพรรค 2. ร.ต.หญิงระนองรักษ์ สุวรรณฉวี รองหัวหน้าพรรค (ลาออก 23 ก.พ. 2553) 3. นายสิทธิชัย โควสุรัตน์ รองหัวหน้าพรรค 4. นพ.พฤฒิชัย ดำรงรัตน์ รองหัวหน้าพรรค (ลาออก 23 ก.พ. 2553) 5. นายกว้าง รอบคอบ รองหัวหน้าพรรค 6. นายสุรเดช ยะสวัสดิ์ รองหัวหน้าพรรค 7. นายนิมุคตาร์ วาบา รองหัวหน้าพรรค 8. นายธีระทัศน์ เตียวเจริญโสภา รองหัวหน้าพรรค (ลาออก 24 ก.พ. 2553) 9. นายไชยยศ จิรเมธากร เลขาธิการพรรค (ลาออก 4 มี.ค. 2553) 10. นายประนอม โพธิ์คำ รองเลขาธิการพรรค (ลาออก 23 ก.พ. 2553) 11. นายสมพงษ์ พิศาลกิจวนิช รองเลขาธิการพรรค (ลาออก 5 มี.ค. 2553) 12. นางพรรณี จารุสมบัติ รองเลขาธิการพรรค 13. นายอดุลย์ นิลเปรม นายทะเบียนสมาชิกพรรค 14. นายอนุวัฒน์ วิเศษจินดาวัฒน์ เหรัญญิกพรรค (ลาออก 24 ก.พ. 2553) 15. นายแพทย์อลงกต มณีกาศ โฆษกพรรค 16. นางนัยนา จินดาคำ กรรมการ 17. นางสาวภิญญดา สุขสวัสดิ์ กรรมการ 18. นางสาวพิมล สุขสวัสดิ์ กรรมการ 19. นายสุพจน์ ศักดิ์ประศาสน์ กรรมการ 20. นางสาวสุภาภรณ์ สินธุเสน กรรมการ 21. นางสาวแอ๊ปเปิ้ล สัตย์ซื่อ กรรมการ 22. นายบุญช่วย เตชานุบาล กรรมการ 23. นางนิศา วงศ์วรรณ กรรมการ (ลาออก 9 มี.ค. 2553) 24. นายพรชัย นวชิต กรรมการ 25. นายปัณณธร บุรากรณ์ กรรมการ 26. นายสถิตย์ สิริสวัสดิ์ กรรมการ 27. พ.ต.อ.ทวีศักดิ์ งามสง่า กรรมการ 28. นายมารุต มัสยวาณิช กรรมการ 29. นายเอกชัย พลซื่อ กรรมการ 30. ส.ต.ราช กั้นห้องกลาง กรรมการ (ลาออก 2 มี.ค. 2553) 31. ร.ต.บุรินทร์ แสดใหม่ กรรมการ (ลาออก 28 ก.พ. 2553) 32. นางภัททิยา มงคล กรรมการ (ลาออก 2 มี.ค. 2553) 33. นายชยุตม์ วงปัดสา กรรมการ 34. นายคนอง เจริญท้าว กรรมการ 35. นางสาวอาภาภรณ์ พุทธปวน กรรมการ 36. นายอานันท์ ผ่าโผน กรรมการ 37. นายสุรศักดิ์ นาคดี กรรมการ 38. นายณรงค์ชัย วีระกุล กรรมการ (ลาออก 11 ก.ย. 2553) 39. นายชัยยงค์ โคตะสิน กรรมการ 40. นายชูศักดิ์ สุทธิรารักษ์ กรรมการ 41. นายวิเชียร ลือชาชาญเดช กรรมการ (ลาออก 9 มี.ค. 2553) 42. นายธานินทร วรกุลเสถียร กรรมการ 43. นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ กรรมการ 44. นายสุทัศน์ เรืองศรี กรรมการ 45. นางสาวอัญชลี สายสืบ กรรมการ 46. นายสมปอง ทองวีระประเสริฐ กรรมการ (ลาออก 25 มี.ค. 2553) 47. นายชลอ นาคอุไร กรรมการ (ลาออก 25 มี.ค. 2553) 48. นายประจักษ์ รัชธร กรรมการ (ลาออก 25 มี.ค. 2553) 49. นายพีระพล พุฒดอน กรรมการ (ลาออก 2 มี.ค. 2553) 50. นายฉัตรชัย เอมราช กรรมการ (ลาออก 2 มี.ค. 2553) 51. นายกลวัชร์ อึ้งสวัสดิ์ กรรมการ (ลาออก 24 ก.พ. 2553) 52. นางนารดา อึ้งสวัสดิ์ กรรมการ (ลาออก 23 ก.พ. 2553) 53. นายโชคชัย เลิศสุวรรณกุล กรรมการ 54. นายเฉลิมชัย ตันติวงศ์ กรรมการ/ผู้อำนวยการพรรค 55. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์ กรรมการ การเปลี่ยนแปลงกรรมการบริหารอดีตสมาชิกพรรคที่มีชื่อเสียงอดีตสมาชิกพรรคที่มีชื่อเสียง. - สุรเกียรติ์ เสถียรไทย เคยดำรงตำแหน่ง ประธานสภานโยบายและยุทธศาสตร์พรรค แต่ต่อมาได้ลาออกจากตำแหน่ง เนื่องจากเป็นหนึ่งใน 111 อดีตกรรมกรรมบริหารพรรคไทยรักไทย ที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี และ กกต. วินิจฉัยว่าไม่สมควรดำรงตำแหน่งใดๆ ในพรรคการเมือง ระหว่างที่ถูกตัดสิทธิ์ดังกล่าว - สุรนันท์ เวชชาชีวะ เคยดำรงตำแหน่ง ประธานกรรมการประสานงานการเลือกตั้ง ของพรรคเพื่อแผ่นดิน แต่ต่อมาได้ขอลาออกจากตำแหน่ง ด้วยเหตุผลเช่นเดียวกับนายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย - จุฑามาศ ศิริวรรณ อดีตผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เคยดำรงตำแหน่งรองหัวหน้าพรรค และเป็นผู้สมัคร ส.ส.แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 6 แต่ต่อมาได้ลาออกจากสมาชิกพรรคเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ก่อนถึงวันเลือกตั้งเพียงเล็กน้อย เนื่องจากเกิดข่าว คดีชาวต่างชาติ จ่ายเงินติดสินบน เจ้าหน้าที่ระดับสูงของ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย - พลตำรวจเอกประชา พรหมนอก อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดินสภานโยบายและยุทธศาสตร์พรรค สภานโยบายและยุทธศาสตร์พรรค. ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2550 พรรคเพื่อแผ่นดินได้แต่งตั้ง นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย เป็นประธานสภานโยบายและยุทธศาสตร์พรรค โดยมีคณะกรรมการสภาฯ ประกอบด้วย นายวิจิตร สุพินิจ อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย นายศุภชัย พิศิษฐวานิช อดีตปลัดกระทรวงการคลัง นายบรรพต หงษ์ทอง อดีตปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายวิเชียร เตชะไพบูลย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงิน และ นายนิทิต พุกกะณะสุต ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงิน โดยทั้งหมดจะเป็นทีมเศรษฐกิจของพรรคเพื่อแผ่นดินด้วย ต่อมานายสุรเกียรติ ได้ลาออกจากตำแหน่ง ประธานสภานโยบายและยุทธศาสตร์พรรค เนื่องจากเป็นหนึ่งใน 111 อดีตกรรมกรรมบริหารพรรคไทยรักไทย ที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี และ กกต. วินิจฉัยว่าไม่สมควรดำรงตำแหน่งใดๆ ในพรรคการเมืองระหว่างที่ถูกตัดสิทธิ์ดังกล่าวการถอนตัวจากการร่วมรัฐบาล สมัยนายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี การถอนตัวจากการร่วมรัฐบาล สมัยนายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี. ในค่ำวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 นายสุวิทย์ ในฐานะหัวหน้าพรรคได้จัดแถลงข่าวที่กระทรวงอุตสาหกรรมร่วมกับกรรมการบริหารพรรคอีก 2 คน ถอนตัวจากการร่วมรัฐบาลคณะรัฐมนตรีคณะที่ 57 โดยอ้างถึงมีความพยายามของรัฐบาลที่จะดึงดันแก้ไขรัฐธรรมนูญ การจาบจ้วงเบื้องสูง และความไม่ชัดเจนในกรณีปราสาทเขาพระวิหารขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก แต่ต่อมา บรรดาสมาชิกได้แถลงว่า การลาออกครั้งนี้เป็นการกระทำของนายสุวิทย์คนเดียว มิได้ผ่านมติของกรรมการบริหารพรรคการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2551 การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2551. ในการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีปี พ.ศ. 2551 ต่อจากนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี จากรณียุบพรรคพลังประชาชน การลงมติครั้งนี้มีกระแสข่าวถึงความไม่แน่นอนในการเปลี่ยวขั้วรัฐบาล ของพรรคร่วมรัฐบาล ซึ่งรวมถึงพรรคเพื่อแผ่นดินด้วยเช่นกัน ก่อนการลงมติมีการแถลงข่าวที่สร้างความสับสนถึงมติของพรรคเพื่อแผ่นดินอยู่เป็นระยะว่าจะเป็นเช่นไร จนมีเมื่อนายเสนาะ เทียนทอง หัวหน้าพรรคประชาราช ได้เสนอชื่อพลตำรวจเอกประชา พรหมนอก หัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดินในขณะนั้น ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี ด้วยเหตุว่าเป็นคนกลางและมีคุณวุฒิ เหมาะกับสถานการณ์บ้านเมือง แต่เมื่อถึงวันลงมติเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 เสียงของ ส.ส. ในพรรคเพื่อแผ่นดินทั้งหมด 21 เสียงในเวลานั้น ได้แตกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ส.ส.ที่ลงมติเลือกนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรีส.ส.ที่ลงมติเลือกนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี. 1. นายไชยยศ จิรเมธากร ส.ส.อุดรธานี 2. นายนรพล ตันติมนตรี ส.ส.เชียงใหม่ 3. นายประนอม โพธิ์คำ ส.ส.นครราชสีมา 4. นายพิกิฏ ศรีชนะ ส.ส.ยโสธร 5. นายพิเชษฐ์ ตันเจริญ ส.ส.ฉะเชิงเทรา 6. นายพลพีร์ สุวรรณฉวี ส.ส.นครราชสีมา 7. ร้อยตรีหญิง ระนองรักษ์ สุวรรณฉวี ส.ส.นครราชสีมา 8. นายรณฤทธิชัย คานเขต ส.ส.ยโสธร 9. นายอนุวัตน์ วิเศษจินดาวัฒน์ ส.ส.นครราชสีมา 10. นายวิทยา บุตรดีวงศ์ ส.ส.มุกดาหาร 11. นายสุชาติ ตันติวณิชชานนท์ ส.ส.อุบลราชธานี 12. นายแพทย์อลงกต มณีกาศ ส.ส.นครนพมส.ส.ที่ลงมติเลือกพลตำรวจเอกประชา พรหมนอก เป็นนายกรัฐมนตรีส.ส.ที่ลงมติเลือกพลตำรวจเอกประชา พรหมนอก เป็นนายกรัฐมนตรี. 1. พลตำรวจเอกประชา พรหมนอก ส.ส.สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 3 2. หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ไชยันต์ ส.ส.สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 6 3. นางจิตรวรรณ หวังศุภกิจโกศล ส.ส.นครราชสีมา 4. นายปุระพัฒน์ วิเศษจินดาวัฒนา ส.ส.สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 5 5. นายมานพ ปัตนวงศ์ ส.ส.สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 8 6. นายแพทย์วัลลภ ไทยเหนือ ส.ส.สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 4 7. นายแพทย์แวมาฮาดี แวดาโอะ ส.ส.นราธิวาส 8. นายสมเกียรติ ศรลัมพ์ ส.ส.สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 2 9. นายสุรเดช ยะสวัสดิ์ ส.ส.สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 1การลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรี พ.ศ. 2553 การลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรี พ.ศ. 2553. การอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี 5 คน เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม และวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2553 ซึ่งมีการลงมติในวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2553 โดย ส.ส.ของพรรคเพื่อแผ่นดินบางส่วน ได้ลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีในรัฐบาล 2 คน คือ นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล และนายโสภณ ซารัมย์ จากพรรคภูมิใจไทย ทำให้แกนนำของพรรคภูมิใจไทย แสดงความไม่พอใจ และเรียกร้องให้นายกรัฐมนตรีปรับพรรคเพื่อแผ่นดินออกจากพรรคร่วมรัฐบาล ต่อมาได้มีการปรับรัฐมนตรีในส่วนของพรรคเพื่อแผ่นดิน จำนวน 3 คน คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงไอซีที รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ออกจากตำแหน่ง และมีการแต่งตั้งรัฐมนตรีจากพรรคประชาธิปัตย์ พรรคมาตุภูมิ แทนในโควตาของพรรค โดยให้โควตารัฐมนตรีให้พรรคเพื่อแผ่นดิน เพียง 1 ตำแหน่ง คือ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554 การเลือกตั้ง พ.ศ. 2554. พรรคเพื่อแผ่นดิน โดยนายกว้าง รอบคอบ รักษาการหัวหน้าพรรค ประกาศแสดงเจตนารมณ์ของพรรคว่าจะไม่มีการส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 เพื่อป้องกันความสับสันระหว่างพรรคเพื่อแผ่นดิน และพรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ซึ่งสมาชิกของพรรคเพื่อแผ่นดินส่วนใหญ่ได้ย้ายเข้าไปร่วมงานทางการเมืองด้วย ส่วนกิจกรรมของพรรคเพื่อแผ่นดินยังคงมีต่อไป พรรคเพื่อแผ่นดิน ได้ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งอีกครั้งในการเลือกตั้งซ่อมที่จังหวัดเชียงใหม่ เขต 3 แทนนางสาวชินณิชา วงศ์สวัสดิ์ เมื่อวันที 2 มิถุนายน พ.ศ. 2555 แต่ไม่ได้รับเลือกตั้งการเลือกตั้ง พ.ศ. 2557 การเลือกตั้ง พ.ศ. 2557. พรรคเพื่อแผ่นดิน ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557 ซึ่งกำหนดให้มีขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 มีหมายเลขประจำพรรคคือ หมายเลข 53ประวัติการทำงานในรัฐสภา
ใครคือหัวหน้าพรรคคนแรกของพรรคเพื่อแผ่นดิน
{ "answer": [ "สุวิทย์ คุณกิตติ" ], "answer_begin_position": [ 179 ], "answer_end_position": [ 195 ] }
3,583
418,999
ATM เออรัก เออเร่อ ATM เออรัก เออเร่อ เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก - คอมเมดี้เข้าฉายในโรงภาพยนตร์วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2555 กำกับโดย เมษ ธราธร ATM เออรัก เออเร่อ ถือว่าประสบความสำเร็จอย่างมาก ทำรายได้รวม 152.5 ล้านบาท เป็นอันดับ 7 ของภาพยนตร์ไทยที่ทำรายได้ตลอดกาล จากเวลาเข้าฉาย 4 สัปดาห์ 4 วัน และยังเคยเป็นภาพยนตร์ที่ทำรายได้มากที่สุดของจีทีเอชมาประมาณ 1 ปี จนกระทั่ง พี่มากพระโขนง (2556) ทำรายได้แซงเป็นอันดับหนึ่งในวันที่ 3 เมษายน 2556 ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 มีละครซีรีส์ที่ดำเนินเนื้อเรื่องต่อจากภาพยนตร์เรื่องนี้ในชื่อเรื่อง ATM 2 คู่เวอร์ เออเร่อ เออรัก ออกอากาศในช่อง จีทีเอชออนแอร์นักแสดงนักแสดง. - เต๋อ ฉันทวิชช์ ธนะเสวี รับบท สุริยะ (เสือ) - ไอซ์ ปรีชญา พงษ์ธนานิกร รับบท อรจิรา รองผู้จัดการสำนักงานใหญ่(จิ๊บ) - เผือก พงศธร จงวิลาส รับบท ดนัย ผู้ช่วยผู้จัดการ - โจ๊ก กรภพ จันทร์เจริญ รับบท โหย่ว (ลูกชายหัวหน้าฝ่าย) - ป๊อบ ปองกูล สืบซึ้ง รับบท ปกรณ์ ผู้จัดการธนาคารสาขาชลบุรี - ญาณี ตราโมท รับบท หัวหน้าฝ่าย ผู้จัดการสำนักงานใหญ่ - พุทธชาด พงศ์สุชาติ รับบท เจ๊อัม (อัมรา พรสุชาติ) - แจ็ค เฉลิมพล ทิฆัมพรธีรวงศ์ รับบท แป๊ด - เอิร์ธ ธวัช พรรัตนประเสริฐ รับบท ปื๊ด - ฝน ศนันธฉัตร ธนพัฒน์พิศาล รับบท ก๊อบ - แอนนา ชวนชื่น รับบท จ.ส.ต.อำนวย ชาติเชื้อนักแสดงรับเชิญนักแสดงรับเชิญ. - สินทวีชัย หทัยรัตนกุล - นักฟุตบอล - พิภพ อ่อนโม้ - นักฟุตบอล - เทิดศักดิ์ ใจมั่น - นักฟุตบอล - เอกพันธ์ อินทเสน - นักฟุตบอล - กองเชียร์ สโมสรฟุตบอลชลบุรี และ สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด - กรณ์ กิจเจริญ (แก้ว) - ช่างเทตนิค 1 - กีรติ ศิวะเกื้อ (โอ๊ค) - ช่างเทคนิค 2 - ศรีธนญชัย เชิญยิ้ม (อาไท กลมกิ๊ก) - อาทิตย์ - ปวีณ์นุช แพ่งนคร - นางพยาบาล - ธนัชพันธ์ บูรณาชีวาวิไล (ดีเจบุ๊คโกะ) - ดีเจในงานเลี้ยง - ก๊อฟ-ต้า-ยัด นักเขียนบทของ GTHเพลงประกอบเพลงประกอบ. - มองได้แต่อย่าชอบ ขับร้องโดย ลุลา Feat. เต๋อ ฉันทวิชช์, ป๊อป Calories Blah Blah, โจ๊ก So Cool (ดัดแปลงจากเพลง ในวันที่เราต้องไกลห่าง)
ใครคือผู้กำกับภาพยนตร์ไทยเรื่อง ATM เออรัก เออเร่อ
{ "answer": [ "เมษ ธราธร" ], "answer_begin_position": [ 224 ], "answer_end_position": [ 233 ] }
3,584
470,922
ไมโอซิน ไมโอซิน () คือโปรตีนที่พบในเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อลาย มีขนาดใหญ่, หนา และสีเข้มกว่าแอกติน ไมโอซินจัดเป็นโปรตีนขับเคลื่อน (motor protein) ชนิดหนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่ช่วยในการเคลื่อนไหวภายในเซลล์และเนื้อเยื่อ โดยอาศัยพลังงาน ATP ในการเคลื่อนที่ไปตามสายเอฟแอกติน (F-actin) ที่พันกันเป็นเกลียวอยู่กับโทรโปไมโอซิน (tropomyosin) และโทรโปรนิน (troponin)โครงสร้าง โครงสร้าง. โครงสร้างของไมโอซินแต่ละโมเลกุลจะประกอบด้วยส่วนหัว (myosin heads) ส่วนคอ และส่วนหาง (myosin tails)รูปภาพเพิ่มเติม
ไมโอซินคืออะไร
{ "answer": [ "โปรตีนที่พบในเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อลาย" ], "answer_begin_position": [ 104 ], "answer_end_position": [ 140 ] }
3,585
470,922
ไมโอซิน ไมโอซิน () คือโปรตีนที่พบในเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อลาย มีขนาดใหญ่, หนา และสีเข้มกว่าแอกติน ไมโอซินจัดเป็นโปรตีนขับเคลื่อน (motor protein) ชนิดหนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่ช่วยในการเคลื่อนไหวภายในเซลล์และเนื้อเยื่อ โดยอาศัยพลังงาน ATP ในการเคลื่อนที่ไปตามสายเอฟแอกติน (F-actin) ที่พันกันเป็นเกลียวอยู่กับโทรโปไมโอซิน (tropomyosin) และโทรโปรนิน (troponin)โครงสร้าง โครงสร้าง. โครงสร้างของไมโอซินแต่ละโมเลกุลจะประกอบด้วยส่วนหัว (myosin heads) ส่วนคอ และส่วนหาง (myosin tails)รูปภาพเพิ่มเติม
ไมโอซินเป็นโปรตีนโปรตีนชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่ช่วยในเรื่องใด
{ "answer": [ "การเคลื่อนไหวภายในเซลล์และเนื้อเยื่อ" ], "answer_begin_position": [ 253 ], "answer_end_position": [ 289 ] }
3,586
156,435
ครูสมศรี ครูสมศรี เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2528 กำกับโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล นำแสดงโดย ชาลิตา ปัทมพันธ์ รณฤทธิชัย คานเขต และสมชาย อาสนจินดา เข้าฉายเมื่อ 11 มกราคม พ.ศ. 2528 ที่โรงภาพยนตร์สยาม-อินทรา-พันธุ์ทิพย์-เฉลิมกรุง-วิลลา ครูสมศรี เป็นภาพยนตร์สะท้อนสังคม กล่าวถึงชีวิตของชาวชุมชนแออัด ในตรอกศาลเจ้าพ่อเสือ ต้องถูกไล่ที่โดยเจ้าของที่ดิน ชาวบ้านลุกขึ้นสู้เพื่อปกป้องที่อยู่อาศัย โดยการนำของครูสมศรี ผู้หญิงตัวเล็ก ๆ แม้จะต้องแลกมาด้วยชีวิตของเธอ ภาพยนตร์ได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 18 ประจำปี พ.ศ. 2528 สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม (รณ ฤทธิชัย) และสาขานักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม (ส. อาสนจินดา) แล้วยังเข้าชิงสาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (ชาลิตา ปัทมพันธ์) และสาขาผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล) โดยรณ ฤทธิชัยและม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล ยังได้รับรางวัล และ ส. อาสนจินดา ได้เข้าชิง รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2529 ในสาขาเดียวกัน และได้รับถึง 6 รางวัล ต่อมาถูกนำมาสร้างใหม่เป็นละครโทรทัศน์ โดย เป่า จิน จง ในปี พ.ศ. 2546 นักแสดงนำโดย สุจิรา อรุณพิพัฒน์, นวพล ภูวดล, เจฟฟรี่ เบญจกุล, สรพงษ์ ชาตรี, สุกัญญา มิเกลเรื่องย่อ เรื่องย่อ. ครูสมศรี ถ่ายทอดจากปากของ บุญเพ็ง (รณ ฤทธิชัย) ผู้อำนวยการกองบริการประชาชนของเทศบาลที่เคยสูญเสียคนรักสมัยเป็นนักศึกษาในเหตุการณ์มหาวิปโยค จนบุญเพ็งเก็บอุดมการณ์ใส่ลิ้นชัก ยอมเป็นเบี้ยในระบบราชการ กระทั่งมาพบครูสมศรี (ชาลิตา ปัทมพันธ์) ที่มีเลือดนักสู้ ทำให้บุญเพ็งรู้จักชีวิตและกล้าที่จะเปิดโปงทุจริตต่อ ป.ป.ป. ครูสมศรี เกิดในสลัมตรอกศาลเจ้าพ่อเสือ มุมานะเรียนจนจบชั้น ม.ศ.5 แล้วมาเป็นครูสอนในโรงเรียนของครูทองย้อย (ส.อาสนจินดา) ครูแก่ขี้เหล้าที่ไม่มีไฟความเป็นครูเหลืออยู่ สลัมแห่งนี้เป็นที่หมายตาของบริษัทสหพัฒนาที่ดินจำกัด มีนายดุสิต (ภูมิ พัฒนยุทธ) เป็นประธานและทนายสด (ชลิต เฟื่องอารมณ์) เป็นมือกฎหมาย ใช้ทั้งกฎหมายและกฎหมู่ในการผลักดันให้ชาวสลัมออกไป จะเอาไปทำศูนย์การค้า ครูสมศรีกับชาวบ้านต่อต้านไม่ยอมออก จึงถูกพวกบริษัทวางเพลิงเผาไล่ที่ ครูสมศรีนำชาวบ้านไปร้องเรียนต่อเทศบาล ได้รับความช่วยเหลือจากนายบุญเพ็งและทนายทองดี (เศรษฐา ศิระฉายา) เพราะเห็นว่า มีการทุจริตในการให้บริษัทเช่าที่ดินสลัม เหตุการณ์รุนแรงตามลำดับ บุญเพ็งถูกห้ามติดตามเรื่องสลัม ชาวบ้านถูกตำรวจกลั่นแกล้งจับกุม กรรมการหมู่บ้านถูกฆ่าตาย ถูกข่มขู่ ต่อมาทนายทองดีก็ถูกยิงตายอีกคน ทำให้ชาวบ้านเริ่มท้อแท้ หวาดกลัว ส่วนครูทองย้อยซึ่งมีสัญญาเช่าที่ดินจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนแผ่นดินเหลืออยู่ ก็ถูกพวกบริษัทมาให้ข้อเสนอจะสร้างโรงเรียนให้ใหม่และยุยงให้เผาโรงเรียนทิ้ง แต่ครูทองย้อยไม่ยอมทำ สมุนของบริษัทจึงลงมือทำเอง พอดีกับบุญเพ็งและครูสมศรีมาพบก่อน จึงช่วยกันดับไฟทัน แต่ครูสมศรีก็ถูกยิงตาย ทำให้ครูทองย้อยเห็นความตั้งใจอันแรงกล้า จึงอึดสู้คดีกับบริษัทจนศาลมีคำพิพากษาให้เป็นฝ่ายชนะคดี มีสิทธิอยู่ในสลัมได้ สมความตั้งใจของครูสมศรีนักแสดงนักแสดง. - ชาลิตา ปัทมพันธ์ รับบท ครูสมศรี มามีสุข - รณ ฤทธิชัย รับบท บุญเพ็ง - สมชาย อาสนจินดา รับบท ครูทองย้อย - ชลิต เฟื่องอารมย์ รับบท ทนายสด - เศรษฐา ศิระฉายา รับบท ทนายทองดี - ภูมิ พัฒนยุทธ รับบท นายดุสิต - ครรชิต ขวัญประชา รับบท ยามรางวัลรางวัล. - รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 18 ประจำปี พ.ศ. 2528- นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม (รณ ฤทธิชัย) - นักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม (ส. อาสนจินดา)- รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2529- ผู้แสดงนำฝ่ายชายยอดเยี่ยม (รณ ฤทธิชัย) - ผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล) - บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล) - ถ่ายภาพยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล) - ออกแบบและสร้างฉากยอดเยี่ยม (มานพ ชัยชุมพล) - บันทึกเสียงยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล)ละครโทรทัศน์ ละครโทรทัศน์. ครูสมศรี ถูกนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทาง สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดยค่าย เป่า จิน จง ในปี พ.ศ. 2546 เป็นบทประพันธ์ของ มจ.ชาตรีเฉลิม ยุคล บทโทรทัศน์โดย ปัณณ์ สิเนห์ กำกับการแสดงโดย ชุติกุล สุตสุนทร นักแสดงนำโดย สุจิรา อรุณพิพัฒน์, นวพล ภูวดล, เจฟฟรี่ เบญจกุล, สรพงษ์ ชาตรี, สุกัญญา มิเกล, สมบัติ เมทะนี, จุรี โอศิริ, รอง เค้ามูลคดี, โฉมฉาย ฉัตรวิไลเรื่องย่อ เรื่องย่อ. สมศรี เด็กที่ นายสม เก็บมาเลี้ยงใฝ่ฝันอยากเป็นครู แต่ถูกระบบเส้นสายจนสอบไม่ผ่าน สมศรี ได้ยิน เปิ่นกระเป๋ารถเมล์คุยกันว่าขาดคนขับรถ สมศรีตัดสินใจสมัคร ทัตเทพ ทวิภาคลูกชาย นายโภคิน ขับรถเฉี่ยว แมงกอย เด็กดอยที่สมศรีเคยเจอตอนไปสอบ แต่ยืนยันว่าแมงกอยวิ่งมาชนรถตัวเองหลังขโมยลูกชิ้น บังเอิญ นิมิต ผ่านจึงพาไปแทน สมศรีรับแมงกอยมาอุปการะ นิมิตเป็นนายตำรวจหนุ่มอุดมการณ์สูงถูกกลั่นแกล้งจนกลายเป็นตำรวจจราจร และต้องหาที่อยู่ใหม่ ได้มาอยู่ที่สลัมคลองคด ทัตเทพเป็นสถาปนิกชุมชนที่ได้มาพัฒนาชุมชนคลองคด เขาถูกวิ่งราวจากแก็ง ยักษ์ บึ๋ง ลวก สมศรีช่วย จับไว้แต่ 3 คนหนีทัน ทัตเทพเข้าใจผิดว่าสมศรีเป็นหัวหน้าแก็งค์ จนทุกคนในชุมชนว่าสมศรีเป็นคนไม่ดี ต่อมาสมศรีได้อุปการะ ใบตอง เด็กเร่ร่อนที่ขึ้นมาขอทานบนรถเมล์จนถูกผลักตกรถ และตี่ เด็กในสลัมที่ยายญาติคนสุดท้ายตายไป สมศรีมองเห็นปัญหาต่างๆ ในชุมชนทั้ง เด็กเร่ร่อน ยาเสพติด บ่อนการพนัน และเงินกู้นอกระบบ จึงลาออกจากการขับรถ มาสอนหนังสือเด็กและพัฒนาชุมชน โดยมีนิมิตคอยช่วย แม้จะมี สุดใจ ช่างตัดเสื้อที่ตามจีบนิมิตคอยขวาง กับ ตาเบี้ยว หัวหน้าชุมชนที่เป็นคนของโภคินๆ คิดจะไล่ที่ทำเป็นเอนเตอร์เทนเม้นท์คอมเพล็กซ์แต่ติดว่าที่ดินติดเป็นที่ดินร้างเกินสิบปี จึงวางแผนให้ชาวสลัมเซ็นสัญญาเช่าแล้ว ที่ดินก็จะตกเป็นของโภคินโดยสมบูรณ์ พิมพ์อร คู่หมายทัตเทพไม่พอใจที่ทัตเทพไปชอบสมศรีจึงแกล้งมาทำดีช่วยชาวสลัมแต่แล้วเอาข้อมูลไปโภคิน ทัตเทพไม่เคยรู้เบื้องหลังพ่อจนแอบได้ยินคุยกับลูกน้อง ทัตเทพพยายามเข้ามาช่วยคนในชุมชนแต่ถูกกีดกัน พวกเข้าร่วมขบวนการเริ่มตายไปที่ละคนชาวบ้านเริ่มถอดใจ เปิ่นซึ่งทำงานจนเรียนจบทนายมาเป็นทนายให้ชาวบ้าน โภคินส่งคนมาทำลายโรงเรียน ชาวบ้านช่วยกันสร้างโรงเรียนขึ้นใหม่ วันเปิดโรงเรียนพบศพสมศรีถูกเผาจนจำไม่ได้มีเพียงกำไลเงินของแมงกอยเคยให้ไว้เป็นหลักฐาน การตายของสมศรีทำให้เด็กๆ ตัดสินใจบวชหน้าศพ การตายของครูสมศรีทำให้ ชาวบ้านลุกขึ้นมาต่อสู้เพื่อสิทธิของตัวเองอีกครั้งนักแสดงนักแสดง. - สุจิรา อรุณพิพัฒน์ แสดงเป็น ครูสมศรี - นวพล ภูวดล แสดงเป็น นิมิต - เจฟฟรี่ เบญจกุล แสดงเป็น ทัตเทพ - สรพงษ์ ชาตรี แสดงเป็น นายสม - สมบัติ เมทะนี แสดงเป็น โภคิน - นิรวิทย์ เรนเดลล์ แสดงเป็น แมงกอย - อรรถพล เทศทะวงศ์ แสดงเป็น ตี่ - ภูริน โชครัศมีศิริ แสดงเป็น ใบตอง - ปิยชาติ อินทร์ชัย แสดงเป็น บึ๋งเข้าชิงรางวัล เข้าชิงรางวัล. ละคร ครูสมศรี ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลในงานบันเทิงยอดเยี่ยม ปี พ.ศ. 2546 ของสมาคมนักข่าวบันเทิง ได้แก่- รางวัลละครยอดเยี่ยม - รางวัลเพลงนำละครยอดเยี่ยม - รางวัลผู้เขียนบทละครยอดเยี่ยม (ปัณณ์ สิเนห์) - รางวัลผู้กำกับละครยอดเยี่ยม (ชุติกุล สุตสุนทร) - รางวัลผู้แสดงนำฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม (คุณสุจิรา อรุณพิพัฒน์)
ใครคือผู้กำกับภาพยนตร์ไทยเรื่อง ครูสมศรี ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2528
{ "answer": [ "หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล" ], "answer_begin_position": [ 149 ], "answer_end_position": [ 173 ] }
3,587
156,435
ครูสมศรี ครูสมศรี เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2528 กำกับโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล นำแสดงโดย ชาลิตา ปัทมพันธ์ รณฤทธิชัย คานเขต และสมชาย อาสนจินดา เข้าฉายเมื่อ 11 มกราคม พ.ศ. 2528 ที่โรงภาพยนตร์สยาม-อินทรา-พันธุ์ทิพย์-เฉลิมกรุง-วิลลา ครูสมศรี เป็นภาพยนตร์สะท้อนสังคม กล่าวถึงชีวิตของชาวชุมชนแออัด ในตรอกศาลเจ้าพ่อเสือ ต้องถูกไล่ที่โดยเจ้าของที่ดิน ชาวบ้านลุกขึ้นสู้เพื่อปกป้องที่อยู่อาศัย โดยการนำของครูสมศรี ผู้หญิงตัวเล็ก ๆ แม้จะต้องแลกมาด้วยชีวิตของเธอ ภาพยนตร์ได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 18 ประจำปี พ.ศ. 2528 สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม (รณ ฤทธิชัย) และสาขานักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม (ส. อาสนจินดา) แล้วยังเข้าชิงสาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (ชาลิตา ปัทมพันธ์) และสาขาผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล) โดยรณ ฤทธิชัยและม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล ยังได้รับรางวัล และ ส. อาสนจินดา ได้เข้าชิง รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2529 ในสาขาเดียวกัน และได้รับถึง 6 รางวัล ต่อมาถูกนำมาสร้างใหม่เป็นละครโทรทัศน์ โดย เป่า จิน จง ในปี พ.ศ. 2546 นักแสดงนำโดย สุจิรา อรุณพิพัฒน์, นวพล ภูวดล, เจฟฟรี่ เบญจกุล, สรพงษ์ ชาตรี, สุกัญญา มิเกลเรื่องย่อ เรื่องย่อ. ครูสมศรี ถ่ายทอดจากปากของ บุญเพ็ง (รณ ฤทธิชัย) ผู้อำนวยการกองบริการประชาชนของเทศบาลที่เคยสูญเสียคนรักสมัยเป็นนักศึกษาในเหตุการณ์มหาวิปโยค จนบุญเพ็งเก็บอุดมการณ์ใส่ลิ้นชัก ยอมเป็นเบี้ยในระบบราชการ กระทั่งมาพบครูสมศรี (ชาลิตา ปัทมพันธ์) ที่มีเลือดนักสู้ ทำให้บุญเพ็งรู้จักชีวิตและกล้าที่จะเปิดโปงทุจริตต่อ ป.ป.ป. ครูสมศรี เกิดในสลัมตรอกศาลเจ้าพ่อเสือ มุมานะเรียนจนจบชั้น ม.ศ.5 แล้วมาเป็นครูสอนในโรงเรียนของครูทองย้อย (ส.อาสนจินดา) ครูแก่ขี้เหล้าที่ไม่มีไฟความเป็นครูเหลืออยู่ สลัมแห่งนี้เป็นที่หมายตาของบริษัทสหพัฒนาที่ดินจำกัด มีนายดุสิต (ภูมิ พัฒนยุทธ) เป็นประธานและทนายสด (ชลิต เฟื่องอารมณ์) เป็นมือกฎหมาย ใช้ทั้งกฎหมายและกฎหมู่ในการผลักดันให้ชาวสลัมออกไป จะเอาไปทำศูนย์การค้า ครูสมศรีกับชาวบ้านต่อต้านไม่ยอมออก จึงถูกพวกบริษัทวางเพลิงเผาไล่ที่ ครูสมศรีนำชาวบ้านไปร้องเรียนต่อเทศบาล ได้รับความช่วยเหลือจากนายบุญเพ็งและทนายทองดี (เศรษฐา ศิระฉายา) เพราะเห็นว่า มีการทุจริตในการให้บริษัทเช่าที่ดินสลัม เหตุการณ์รุนแรงตามลำดับ บุญเพ็งถูกห้ามติดตามเรื่องสลัม ชาวบ้านถูกตำรวจกลั่นแกล้งจับกุม กรรมการหมู่บ้านถูกฆ่าตาย ถูกข่มขู่ ต่อมาทนายทองดีก็ถูกยิงตายอีกคน ทำให้ชาวบ้านเริ่มท้อแท้ หวาดกลัว ส่วนครูทองย้อยซึ่งมีสัญญาเช่าที่ดินจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนแผ่นดินเหลืออยู่ ก็ถูกพวกบริษัทมาให้ข้อเสนอจะสร้างโรงเรียนให้ใหม่และยุยงให้เผาโรงเรียนทิ้ง แต่ครูทองย้อยไม่ยอมทำ สมุนของบริษัทจึงลงมือทำเอง พอดีกับบุญเพ็งและครูสมศรีมาพบก่อน จึงช่วยกันดับไฟทัน แต่ครูสมศรีก็ถูกยิงตาย ทำให้ครูทองย้อยเห็นความตั้งใจอันแรงกล้า จึงอึดสู้คดีกับบริษัทจนศาลมีคำพิพากษาให้เป็นฝ่ายชนะคดี มีสิทธิอยู่ในสลัมได้ สมความตั้งใจของครูสมศรีนักแสดงนักแสดง. - ชาลิตา ปัทมพันธ์ รับบท ครูสมศรี มามีสุข - รณ ฤทธิชัย รับบท บุญเพ็ง - สมชาย อาสนจินดา รับบท ครูทองย้อย - ชลิต เฟื่องอารมย์ รับบท ทนายสด - เศรษฐา ศิระฉายา รับบท ทนายทองดี - ภูมิ พัฒนยุทธ รับบท นายดุสิต - ครรชิต ขวัญประชา รับบท ยามรางวัลรางวัล. - รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 18 ประจำปี พ.ศ. 2528- นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม (รณ ฤทธิชัย) - นักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม (ส. อาสนจินดา)- รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2529- ผู้แสดงนำฝ่ายชายยอดเยี่ยม (รณ ฤทธิชัย) - ผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล) - บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล) - ถ่ายภาพยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล) - ออกแบบและสร้างฉากยอดเยี่ยม (มานพ ชัยชุมพล) - บันทึกเสียงยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล)ละครโทรทัศน์ ละครโทรทัศน์. ครูสมศรี ถูกนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทาง สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดยค่าย เป่า จิน จง ในปี พ.ศ. 2546 เป็นบทประพันธ์ของ มจ.ชาตรีเฉลิม ยุคล บทโทรทัศน์โดย ปัณณ์ สิเนห์ กำกับการแสดงโดย ชุติกุล สุตสุนทร นักแสดงนำโดย สุจิรา อรุณพิพัฒน์, นวพล ภูวดล, เจฟฟรี่ เบญจกุล, สรพงษ์ ชาตรี, สุกัญญา มิเกล, สมบัติ เมทะนี, จุรี โอศิริ, รอง เค้ามูลคดี, โฉมฉาย ฉัตรวิไลเรื่องย่อ เรื่องย่อ. สมศรี เด็กที่ นายสม เก็บมาเลี้ยงใฝ่ฝันอยากเป็นครู แต่ถูกระบบเส้นสายจนสอบไม่ผ่าน สมศรี ได้ยิน เปิ่นกระเป๋ารถเมล์คุยกันว่าขาดคนขับรถ สมศรีตัดสินใจสมัคร ทัตเทพ ทวิภาคลูกชาย นายโภคิน ขับรถเฉี่ยว แมงกอย เด็กดอยที่สมศรีเคยเจอตอนไปสอบ แต่ยืนยันว่าแมงกอยวิ่งมาชนรถตัวเองหลังขโมยลูกชิ้น บังเอิญ นิมิต ผ่านจึงพาไปแทน สมศรีรับแมงกอยมาอุปการะ นิมิตเป็นนายตำรวจหนุ่มอุดมการณ์สูงถูกกลั่นแกล้งจนกลายเป็นตำรวจจราจร และต้องหาที่อยู่ใหม่ ได้มาอยู่ที่สลัมคลองคด ทัตเทพเป็นสถาปนิกชุมชนที่ได้มาพัฒนาชุมชนคลองคด เขาถูกวิ่งราวจากแก็ง ยักษ์ บึ๋ง ลวก สมศรีช่วย จับไว้แต่ 3 คนหนีทัน ทัตเทพเข้าใจผิดว่าสมศรีเป็นหัวหน้าแก็งค์ จนทุกคนในชุมชนว่าสมศรีเป็นคนไม่ดี ต่อมาสมศรีได้อุปการะ ใบตอง เด็กเร่ร่อนที่ขึ้นมาขอทานบนรถเมล์จนถูกผลักตกรถ และตี่ เด็กในสลัมที่ยายญาติคนสุดท้ายตายไป สมศรีมองเห็นปัญหาต่างๆ ในชุมชนทั้ง เด็กเร่ร่อน ยาเสพติด บ่อนการพนัน และเงินกู้นอกระบบ จึงลาออกจากการขับรถ มาสอนหนังสือเด็กและพัฒนาชุมชน โดยมีนิมิตคอยช่วย แม้จะมี สุดใจ ช่างตัดเสื้อที่ตามจีบนิมิตคอยขวาง กับ ตาเบี้ยว หัวหน้าชุมชนที่เป็นคนของโภคินๆ คิดจะไล่ที่ทำเป็นเอนเตอร์เทนเม้นท์คอมเพล็กซ์แต่ติดว่าที่ดินติดเป็นที่ดินร้างเกินสิบปี จึงวางแผนให้ชาวสลัมเซ็นสัญญาเช่าแล้ว ที่ดินก็จะตกเป็นของโภคินโดยสมบูรณ์ พิมพ์อร คู่หมายทัตเทพไม่พอใจที่ทัตเทพไปชอบสมศรีจึงแกล้งมาทำดีช่วยชาวสลัมแต่แล้วเอาข้อมูลไปโภคิน ทัตเทพไม่เคยรู้เบื้องหลังพ่อจนแอบได้ยินคุยกับลูกน้อง ทัตเทพพยายามเข้ามาช่วยคนในชุมชนแต่ถูกกีดกัน พวกเข้าร่วมขบวนการเริ่มตายไปที่ละคนชาวบ้านเริ่มถอดใจ เปิ่นซึ่งทำงานจนเรียนจบทนายมาเป็นทนายให้ชาวบ้าน โภคินส่งคนมาทำลายโรงเรียน ชาวบ้านช่วยกันสร้างโรงเรียนขึ้นใหม่ วันเปิดโรงเรียนพบศพสมศรีถูกเผาจนจำไม่ได้มีเพียงกำไลเงินของแมงกอยเคยให้ไว้เป็นหลักฐาน การตายของสมศรีทำให้เด็กๆ ตัดสินใจบวชหน้าศพ การตายของครูสมศรีทำให้ ชาวบ้านลุกขึ้นมาต่อสู้เพื่อสิทธิของตัวเองอีกครั้งนักแสดงนักแสดง. - สุจิรา อรุณพิพัฒน์ แสดงเป็น ครูสมศรี - นวพล ภูวดล แสดงเป็น นิมิต - เจฟฟรี่ เบญจกุล แสดงเป็น ทัตเทพ - สรพงษ์ ชาตรี แสดงเป็น นายสม - สมบัติ เมทะนี แสดงเป็น โภคิน - นิรวิทย์ เรนเดลล์ แสดงเป็น แมงกอย - อรรถพล เทศทะวงศ์ แสดงเป็น ตี่ - ภูริน โชครัศมีศิริ แสดงเป็น ใบตอง - ปิยชาติ อินทร์ชัย แสดงเป็น บึ๋งเข้าชิงรางวัล เข้าชิงรางวัล. ละคร ครูสมศรี ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลในงานบันเทิงยอดเยี่ยม ปี พ.ศ. 2546 ของสมาคมนักข่าวบันเทิง ได้แก่- รางวัลละครยอดเยี่ยม - รางวัลเพลงนำละครยอดเยี่ยม - รางวัลผู้เขียนบทละครยอดเยี่ยม (ปัณณ์ สิเนห์) - รางวัลผู้กำกับละครยอดเยี่ยม (ชุติกุล สุตสุนทร) - รางวัลผู้แสดงนำฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม (คุณสุจิรา อรุณพิพัฒน์)
นักแสดงคนใดรับบท ครูสมศรี ในภาพยนตร์ไทยเรื่อง ครูสมศรี ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2528
{ "answer": [ "ชาลิตา ปัทมพันธ์" ], "answer_begin_position": [ 1377 ], "answer_end_position": [ 1393 ] }
3,588
311,527
อรวิภา กนกนทีสวัสดิ์ นางสาวอรวิภา กนกนทีสวัสดิ์ นักแสดงและนางแบบหญิงชาวไทย อดีตนางสาวไทย ปี 2552ประวัติ ประวัติ. อรวิภา กนกนทีสวัสดิ์ มีชื่อเล่นว่า โจอี้ มีภูมิลำเนาอยู่ที่จังหวัดสระบุรีจบการศึกษา โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ และ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ สาขา เด็ก-เยาวชนและครอบครัว มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก่อนหน้านี้เคยเป็น ลีด เฟรชชี่ และ ได้ตำแหน่ง "ดาว มหาวิทยาลัย"ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อรวิภา กนกนทีสวัสดิ์ ยังเป็นพี่สาวของอัจฉราภรณ์ กนกนทีสวัสดิ์ (จีน่า) นางสาวไทยประจำปี 2556 คนที่ 48 ของประเทศไทย อีกด้วยผลงานละครโทรทัศน์รางวัลรางวัล. - รางวัลขวัญใจช่างภาพ จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - รางวัล Miss Healthy จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - นางงามบุคลิกภาพ จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - รางวัล Miss Princess จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - นางงามหุ่นดี จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - นางงามจิตใจดี จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - รางวัล Miss Talker จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - รางวัล Miss Photogenic จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - รางวัล Miss Personality จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - รางวัล Continental Queen of Asia จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - รางวัล Beauty Queen of Asia จากเวทีการประกวดนางสาวไทย
อรวิภา กนกนทีสวัสดิ์ ได้รับตำแหน่งนางสาวไทยเมื่อปี พ.ศ. ใด
{ "answer": [ "2552" ], "answer_begin_position": [ 187 ], "answer_end_position": [ 191 ] }
3,589
6,224
ประเทศโครเอเชีย โครเอเชีย (; ) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (; ) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ. 2534 และได้สมัครเพื่อเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในอนาคต ชาวโครเอเชียลงประชามติรับรองการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ซึ่งมีผลในกลางปี 2013 และเป็นสมาชิกลำดับที่ 28ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. โครเอเชียตั้งอยู่ระหว่างภูมิภาคยุโรปกลาง ภูมิภาคยุโรปใต้ และภูมิภาคยุโรปตะวันออก รูปร่างของประเทศคล้ายกับพระจันทร์เสี้ยวหรือเกือกม้า ซึ่งช่วยให้สามารถติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศ ได้แก่ สโลวีเนีย ฮังการี เซอร์เบีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา มอนเตเนโกร และอิตาลี (อีกฟากหนึ่งของทะเลเอเดรียติก) โดยแผ่นดินใหญ่ของโครเอเชียถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนไม่ติดต่อกันโดยชายฝั่งทะเลสั้น ๆ ของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา รอบ ๆ เมืองเนอุม (Neum) ภูมิประเทศของโครเอเชียมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ได้แก่- ที่ราบ ทะเลสาบ และเนินเขา ทางภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ (ภูมิภาคเซนทรัลโครเอเชียและสลาโวเนีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของที่ราบพันโนเนีย) - ภูเขาที่มีป่าไม้หนาแน่นในภูมิภาคลีคาและกอร์สกีคอตาร์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาดินาริกแอลป์ - ชายฝั่งทะเลเอเดรียติกที่เต็มไปด้วยโขดหิน (ภูมิภาคอิสเตรีย นอร์เทิร์นซีโคสต์ และแดลเมเชีย)ประวัติศาสตร์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ยุคกรีก และ โรมันราชวงศ์ฮับส์บูร์ก และ ออสเตรีย-ฮังการี (ค.ศ. 1538–1918)ยูโกลสลาเวีย (ค.ศ. 1918–1991)ร่วมสมัยการเมืองการปกครองบริหารนิติบัญญัติตุลาการการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. โครเอเชียแบ่งออกเป็น 20 เทศมณฑล (counties - županija) กับ 1 เขตเมืองหลวง* จัดกลุ่มรายชื่อโดยแบ่งตามภูมิภาคทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์:นโยบายต่างประเทศความสัมพันธ์กับสหภาพยุโรปความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทยนโยบายต่างประเทศ. ความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทย. - ด้านการทูต - การค้าและเศรษฐกิจ - การท่องเที่ยวกองทัพกองกำลังกึ่งทหารเศรษฐกิจเศรษฐกิจ. - ในบรรดาสาธารณรัฐที่อยู่ภายใต้สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย โครเอเชียมีสถานะทางเศรษฐกิจอยู่ในเกณฑ์ดี เป็นรองเพียงสโลวีเนีย เนื่องจากเป็นเขตอุตสาหกรรมของสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย รายได้ส่วนใหญ่ของโครเอเชียมาจากการท่องเที่ยว เนื่องจากภูมิประเทศเป็นชายฝั่งทะเลเอเดรียติกและมีหมู่เกาะที่สวยงาม ทำให้ในปัจจุบัน โครเอเชียจึงยังคงสภาวะเศรษฐกิจที่ดีกว่าประเทศอดีตสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวียส่วนใหญ่ นอกจากสโลวีเนีย ไว้ได้- สำหรับนโยบายเศรษฐกิจที่สำคัญของรัฐบาลชุดปัจจุบัน ได้แก่ การปฏิรูปเศรษฐกิจให้เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเสรี ส่งเสริมให้เอกชนเข้ามามีบทบาทในทางเศรษฐกิจมากขึ้น ออกกฎหมายเพื่อส่งเสริมการค้าการลงทุนจากต่างประเทศ โดยได้ประกาศนโยบายที่มุ่งสร้างเสถียรภาพของเศรษฐกิจมหภาค รักษาเสถียรภาพของค่าเงินสกุลคูน่า (Kuna) คงระดับอัตราเงินเฟ้อ เพิ่มอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ใช้มาตรการดึงดูดคู่ค้าและนักลงทุนมากขึ้น รวมถึงการเร่งแปรรูปรัฐวิสาหกิจการท่องเที่ยวโครงสร้างพื้นฐานคมนาคม และ โทรคมนาคมการคมนาคมโครงสร้างพื้นฐาน. คมนาคม และ โทรคมนาคม. การคมนาคม. - รัฐบาลโครเอเชียยังมีโครงการสนับสนุนการลงทุนด้านท่าเรือ ซึ่งเป็นโครงการระยะยาว เนื่องจากเห็นว่า การลงทุนด้านนี้จะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจโครเอเชีย ช่วยให้เกิดการขนส่ง การก่อสร้างถนน ทางรถไฟ และธุรกิจบริการเกี่ยวกับบริษัทขนส่งสินค้าต่างๆ โดยรัฐบาลได้สนับสนุนเงินกู้จำนวนหนึ่งเพื่อสร้างถนนเชื่อมโยงกับเส้นทางของฮังการี ปรับปรุงทางรถไฟและสาธารณูปโภคอื่นๆ ทั้งนี้ โครเอเชียมีชายฝั่งทะเลที่ยาวกว่า 5,000 กิโลเมตร และเต็มไปด้วยเกาะแก่งต่างๆ ถึง 1,185 เกาะ จึงมีความจำเป็นต้องจัดการคมนาคมขนส่งทางน้ำเพื่อเชื่อมโยงระหว่างกัน รวมทั้งดูแลชายฝั่งทะเลซึ่งมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ และการก่อสร้างถนนหนทางภาคพื้นดินภายในประเทศเพื่อรองรับการคมนาคมทางน้ำ โครเอเชียมีท่าเรือ Rijeka ใช้ขนถ่ายและกระจายสินค้าได้ มีโครงการปรับปรุงเส้นทางขนส่ง โดยเริ่มตั้งแต่ปลายปี 2549 ซึ่งจะเป็นเส้นทางคมนาคมทางบกที่รวดเร็วที่สุดระหว่างเอเชียและยุโรปกลางโทรคมนาคมวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีการศึกษาสาธารณสุขสวัสดิการสังคมประชากรศาสตร์เชื้อชาติ ประชากรศาสตร์. เชื้อชาติ. 4.5 ล้านคน ประกอบด้วยชาวโครอัท (89.6%) ชาวเซิร์บ (4.54%) และอื่นๆ ได้แก่ ชาวบอสเนีย ฮังกาเรียน สโลวีน เช็ก (5.9%)ศาสนาภาษากีฬาฟุตบอลวอลเลย์บอลวัฒนธรรมสถาปัตยกรรมวรรณกรรมอาหาร วัฒนธรรม. อาหาร. อาหารพื้นเมืองของชาวโครแอตไม่ต่างจากอาหารแบบยุโรปโดยทั่วไป ในกรุงชาเกร็บมีร้านอาหารให้เลือกมากมาย ที่เป็นเอกลักษณ์ก็คือร้านกาแฟในสไตล์ Side-Walk Cafe ที่เน้นการเสพบรรยากาศดี ๆ เคล้ากาแฟรสละมุนลิ้น ส่วนเมนูอร่อยที่ควรชิมก็คือไส้กรอก Spek และ Kulen ซึ่งเป็นอาหารเฉพาะถิ่น ในขณะที่ขนมหวานขึ้นชื่อของโครเอเชียก็คือคุกกี้รูปหัวใจเคลือบน้ำตาลสีแดงที่มีรสชาติหวานมันลงตัวดนตรีสื่อสารมวลชนวันหยุด
ประเทศโครเอเชียอยู่ในทวีปอะไร
{ "answer": [ "ยุโรป" ], "answer_begin_position": [ 187 ], "answer_end_position": [ 192 ] }
3,590
6,224
ประเทศโครเอเชีย โครเอเชีย (; ) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (; ) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ. 2534 และได้สมัครเพื่อเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในอนาคต ชาวโครเอเชียลงประชามติรับรองการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ซึ่งมีผลในกลางปี 2013 และเป็นสมาชิกลำดับที่ 28ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. โครเอเชียตั้งอยู่ระหว่างภูมิภาคยุโรปกลาง ภูมิภาคยุโรปใต้ และภูมิภาคยุโรปตะวันออก รูปร่างของประเทศคล้ายกับพระจันทร์เสี้ยวหรือเกือกม้า ซึ่งช่วยให้สามารถติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศ ได้แก่ สโลวีเนีย ฮังการี เซอร์เบีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา มอนเตเนโกร และอิตาลี (อีกฟากหนึ่งของทะเลเอเดรียติก) โดยแผ่นดินใหญ่ของโครเอเชียถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนไม่ติดต่อกันโดยชายฝั่งทะเลสั้น ๆ ของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา รอบ ๆ เมืองเนอุม (Neum) ภูมิประเทศของโครเอเชียมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ได้แก่- ที่ราบ ทะเลสาบ และเนินเขา ทางภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ (ภูมิภาคเซนทรัลโครเอเชียและสลาโวเนีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของที่ราบพันโนเนีย) - ภูเขาที่มีป่าไม้หนาแน่นในภูมิภาคลีคาและกอร์สกีคอตาร์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาดินาริกแอลป์ - ชายฝั่งทะเลเอเดรียติกที่เต็มไปด้วยโขดหิน (ภูมิภาคอิสเตรีย นอร์เทิร์นซีโคสต์ และแดลเมเชีย)ประวัติศาสตร์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ยุคกรีก และ โรมันราชวงศ์ฮับส์บูร์ก และ ออสเตรีย-ฮังการี (ค.ศ. 1538–1918)ยูโกลสลาเวีย (ค.ศ. 1918–1991)ร่วมสมัยการเมืองการปกครองบริหารนิติบัญญัติตุลาการการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. โครเอเชียแบ่งออกเป็น 20 เทศมณฑล (counties - županija) กับ 1 เขตเมืองหลวง* จัดกลุ่มรายชื่อโดยแบ่งตามภูมิภาคทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์:นโยบายต่างประเทศความสัมพันธ์กับสหภาพยุโรปความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทยนโยบายต่างประเทศ. ความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทย. - ด้านการทูต - การค้าและเศรษฐกิจ - การท่องเที่ยวกองทัพกองกำลังกึ่งทหารเศรษฐกิจเศรษฐกิจ. - ในบรรดาสาธารณรัฐที่อยู่ภายใต้สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย โครเอเชียมีสถานะทางเศรษฐกิจอยู่ในเกณฑ์ดี เป็นรองเพียงสโลวีเนีย เนื่องจากเป็นเขตอุตสาหกรรมของสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย รายได้ส่วนใหญ่ของโครเอเชียมาจากการท่องเที่ยว เนื่องจากภูมิประเทศเป็นชายฝั่งทะเลเอเดรียติกและมีหมู่เกาะที่สวยงาม ทำให้ในปัจจุบัน โครเอเชียจึงยังคงสภาวะเศรษฐกิจที่ดีกว่าประเทศอดีตสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวียส่วนใหญ่ นอกจากสโลวีเนีย ไว้ได้- สำหรับนโยบายเศรษฐกิจที่สำคัญของรัฐบาลชุดปัจจุบัน ได้แก่ การปฏิรูปเศรษฐกิจให้เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเสรี ส่งเสริมให้เอกชนเข้ามามีบทบาทในทางเศรษฐกิจมากขึ้น ออกกฎหมายเพื่อส่งเสริมการค้าการลงทุนจากต่างประเทศ โดยได้ประกาศนโยบายที่มุ่งสร้างเสถียรภาพของเศรษฐกิจมหภาค รักษาเสถียรภาพของค่าเงินสกุลคูน่า (Kuna) คงระดับอัตราเงินเฟ้อ เพิ่มอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ใช้มาตรการดึงดูดคู่ค้าและนักลงทุนมากขึ้น รวมถึงการเร่งแปรรูปรัฐวิสาหกิจการท่องเที่ยวโครงสร้างพื้นฐานคมนาคม และ โทรคมนาคมการคมนาคมโครงสร้างพื้นฐาน. คมนาคม และ โทรคมนาคม. การคมนาคม. - รัฐบาลโครเอเชียยังมีโครงการสนับสนุนการลงทุนด้านท่าเรือ ซึ่งเป็นโครงการระยะยาว เนื่องจากเห็นว่า การลงทุนด้านนี้จะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจโครเอเชีย ช่วยให้เกิดการขนส่ง การก่อสร้างถนน ทางรถไฟ และธุรกิจบริการเกี่ยวกับบริษัทขนส่งสินค้าต่างๆ โดยรัฐบาลได้สนับสนุนเงินกู้จำนวนหนึ่งเพื่อสร้างถนนเชื่อมโยงกับเส้นทางของฮังการี ปรับปรุงทางรถไฟและสาธารณูปโภคอื่นๆ ทั้งนี้ โครเอเชียมีชายฝั่งทะเลที่ยาวกว่า 5,000 กิโลเมตร และเต็มไปด้วยเกาะแก่งต่างๆ ถึง 1,185 เกาะ จึงมีความจำเป็นต้องจัดการคมนาคมขนส่งทางน้ำเพื่อเชื่อมโยงระหว่างกัน รวมทั้งดูแลชายฝั่งทะเลซึ่งมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ และการก่อสร้างถนนหนทางภาคพื้นดินภายในประเทศเพื่อรองรับการคมนาคมทางน้ำ โครเอเชียมีท่าเรือ Rijeka ใช้ขนถ่ายและกระจายสินค้าได้ มีโครงการปรับปรุงเส้นทางขนส่ง โดยเริ่มตั้งแต่ปลายปี 2549 ซึ่งจะเป็นเส้นทางคมนาคมทางบกที่รวดเร็วที่สุดระหว่างเอเชียและยุโรปกลางโทรคมนาคมวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีการศึกษาสาธารณสุขสวัสดิการสังคมประชากรศาสตร์เชื้อชาติ ประชากรศาสตร์. เชื้อชาติ. 4.5 ล้านคน ประกอบด้วยชาวโครอัท (89.6%) ชาวเซิร์บ (4.54%) และอื่นๆ ได้แก่ ชาวบอสเนีย ฮังกาเรียน สโลวีน เช็ก (5.9%)ศาสนาภาษากีฬาฟุตบอลวอลเลย์บอลวัฒนธรรมสถาปัตยกรรมวรรณกรรมอาหาร วัฒนธรรม. อาหาร. อาหารพื้นเมืองของชาวโครแอตไม่ต่างจากอาหารแบบยุโรปโดยทั่วไป ในกรุงชาเกร็บมีร้านอาหารให้เลือกมากมาย ที่เป็นเอกลักษณ์ก็คือร้านกาแฟในสไตล์ Side-Walk Cafe ที่เน้นการเสพบรรยากาศดี ๆ เคล้ากาแฟรสละมุนลิ้น ส่วนเมนูอร่อยที่ควรชิมก็คือไส้กรอก Spek และ Kulen ซึ่งเป็นอาหารเฉพาะถิ่น ในขณะที่ขนมหวานขึ้นชื่อของโครเอเชียก็คือคุกกี้รูปหัวใจเคลือบน้ำตาลสีแดงที่มีรสชาติหวานมันลงตัวดนตรีสื่อสารมวลชนวันหยุด
รายได้ส่วนใหญ่ในประเทศโครเอเชียมาจากอะไร
{ "answer": [ "การท่องเที่ยว" ], "answer_begin_position": [ 2115 ], "answer_end_position": [ 2128 ] }
3,591
87,697
เต่าแก้มแดง เต่าแก้มแดง (; ) เป็นเต่าน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ทวีปอเมริกาเหนือ มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำแถบรัฐอิลลินอยส์, แม่น้ำมิสซิสซิปปี ไปจนถึงอ่าวเม็กซิโก ลักษณะเมื่อแรกเกิด กระดองจะเป็นสีเขียว เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนไปเป็นสีคล้ำ เท้าทั้ง 4 ข้างมีพังผืดใช้ว่ายน้ำได้ดี ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 1 ฟุต โดยที่ตัวผู้จะมีขนาดเล็กกว่าตัวเมียเล็กน้อย กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ ผสมพันธุ์กันในน้ำระหว่างเดือนมีนาคม-มิถุนายน จากนั้นในเดือนสิงหาคม ตัวเมียจะขึ้นมาวางไข่ในหาดทราย ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 60-75 วัน อายุเมื่อพร้อมที่จะผสมพันธุ์ประมาณ 2 ปี และมีอายุขัยโดยเฉลี่ย 30 ปีการจำแนก การจำแนก. แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดย่อยดังนี้- Trachemys scripta scripta – เต่าแก้มเหลือง - Trachemys scripta elegans – เต่าญี่ปุ่น เป็นชนิดที่นิยมเป็นสัตว์เลี้ยง - Trachemys scripta troostii – เต่าคัมเบอร์แลนด์
เต่าแก้มแดงจะพร้อมผสมพันธุ์เมื่ออายุกี่ปี
{ "answer": [ "2" ], "answer_begin_position": [ 653 ], "answer_end_position": [ 654 ] }
3,592
87,697
เต่าแก้มแดง เต่าแก้มแดง (; ) เป็นเต่าน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ทวีปอเมริกาเหนือ มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำแถบรัฐอิลลินอยส์, แม่น้ำมิสซิสซิปปี ไปจนถึงอ่าวเม็กซิโก ลักษณะเมื่อแรกเกิด กระดองจะเป็นสีเขียว เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนไปเป็นสีคล้ำ เท้าทั้ง 4 ข้างมีพังผืดใช้ว่ายน้ำได้ดี ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 1 ฟุต โดยที่ตัวผู้จะมีขนาดเล็กกว่าตัวเมียเล็กน้อย กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ ผสมพันธุ์กันในน้ำระหว่างเดือนมีนาคม-มิถุนายน จากนั้นในเดือนสิงหาคม ตัวเมียจะขึ้นมาวางไข่ในหาดทราย ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 60-75 วัน อายุเมื่อพร้อมที่จะผสมพันธุ์ประมาณ 2 ปี และมีอายุขัยโดยเฉลี่ย 30 ปีการจำแนก การจำแนก. แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดย่อยดังนี้- Trachemys scripta scripta – เต่าแก้มเหลือง - Trachemys scripta elegans – เต่าญี่ปุ่น เป็นชนิดที่นิยมเป็นสัตว์เลี้ยง - Trachemys scripta troostii – เต่าคัมเบอร์แลนด์
เต่าแก้มแดงมีอายุขัยโดยเฉลี่ยกี่ปี
{ "answer": [ "30" ], "answer_begin_position": [ 680 ], "answer_end_position": [ 682 ] }
3,593
510,453
ลิงกังดำ ลิงกังดำ หรือ ลิงกังหงอนดำ (; ) เป็นลิงโลกเก่าชนิดหนึ่ง จำพวกลิงกัง ลิงกังดำ มีขนสีดำตลอดทั่วทั้งตัวรวมถึงใบหน้าที่ไม่มีขน มีจุดเด่นคือ กลางกระหม่อมมีขนเป็นแผงเหมือนหงอน ซึ่งจะตั้งขึ้นได้เมื่อขู่ศัตรู และที่ก้นจะมีแผ่นหนังสีขาวดูเด่นใช้สำหรับรองนั่ง นอกจากนี้แล้วยังเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการแสดงออกทางเพศ โดยเฉพาะในตัวผู้ มีหางขนาดสั้นยาวเพียง 2 เซนติเมตรเท่านั้น (1 นิ้ว) ทำให้แลดูคล้ายลิงไม่มีหาง ลำตัวมีความยาวประมาณ 44 เซนติเมตร (17 นิ้ว) จนถึง 60 เซนติเมตร (24 นิ้ว) น้ำหนักประมาณ 3.6 ถึง 10.4 กิโลกรัม นับเป็นลิงประเภทลิงกังที่มีขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 20 ปี อาศัยอยู่เป็นกลุ่มเล็ก ๆ ราว 5-25 ตัว กระจายพันธุ์เฉพาะบนเกาะสุลาเวสี ในประเทศอินโดนีเซียเท่านั้น เป็นลิงที่กินส่วนต่าง ๆ ของพืชต่าง ๆ เป็นอาหารหลัก เป็นลิงที่ชาวพื้นเมืองบนเกาะสุลาเวสีใช้รับประทานเป็นอาหารเช่นเดียวกับทาร์เซีย ปัจจุบันมีจำนวนประชากรเหลือประมาณ 6,000 ตัวเท่านั้น เป็นลิงที่มีความเฉลียวฉลาด ในปี ค.ศ. 2011 ได้มีช่างภาพชาวตะวันตกผู้หนึ่งได้เข้าไปถ่ายรูปฝูงลิงกังดำในเขตป่าสงวนของเกาะสุลาเวสี ปรากฏว่าลิงไม่ได้มีท่าทีที่ก้าวร้าวเลย กลับกันกลับแสดงความเป็นมิตร และยังรู้จักที่จะถ่ายรูปตัวเองด้วยการยิ้มให้อีกต่างหาก
ลิงกังดำมีอายุขัยโดยเฉลี่ยกี่ปี
{ "answer": [ "20" ], "answer_begin_position": [ 670 ], "answer_end_position": [ 672 ] }
3,594
720,205
พลูแก พลูแก หรือ พลูกะตอย () เป็นพืชในวงศ์ Piperaceae เป็นไม้เถา ใบเดี่ยวเรียงสลับรูปหัวใจ เมื่อเลื้อยไปกับดินหรือโคนต้น ใบเปลี่ยนเป็นรูปไข่หรือรีแคบเมื่อเกาะติดกับต้นไม้อื่น ช่อดอกออกตรงข้ามกับใบ ช่อดอกเพศผู้ยาวกว่าใบ ริ้วประดับรูปวงกลม ก้านช่อดอกเพศเมียมีขน ใบมีรสเผ็ดร้อนเล็กน้อย ใช้แก้น้ำเหลืองเสีย กามโรค
ใบของต้นพลูแกมีลักษณะเป็นรูปอะไร
{ "answer": [ "หัวใจ" ], "answer_begin_position": [ 165 ], "answer_end_position": [ 170 ] }
3,595
278,737
เกล็ดแก้ว เกล็ดแก้ว (; ; โรมะจิ: chinshurin) เป็นปลาทองสายพันธุ์หนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันในปัจจุบัน มีรูปร่างลักษณะ ตัวอ้วนกลมคล้ายลูกกอล์ฟ มีลักษณะเด่นคือ เกล็ดทุกเกล็ดจะปูดนูนออกมา จึงเป็นที่มาของชื่อเกล็ดแก้ว หัวมีขนาดเล็กมาก จนอาจนับได้ว่าเป็นปลาทองสายพันธุ์ที่มีหัวเล็กที่สุด ครีบหางแผ่กางออกแลดูสวยงาม สีสันของลำตัวมีมากมายหลากหลาย ทั้ง ขาว, น้ำตาล, เหลืองและส้ม และหลากหลายสีในตัวเดียวกัน แต่ไม่พบปลาที่มีสีดำทั้งตัว และมีทั้งหัววุ้นและหัวมงกุฎ เกล็ดแก้วเป็นปลาทองที่ชาวไทยเป็นผู้เพาะพันธุ์ขึ้นมาเป็นครั้งแรก แต่ทว่าไม่ปรากฏหลักฐานว่าผู้ใดเป็นผู้คิดค้นและทำไว้ตั้งแต่เมื่อไหร่
คนประเทศใดเป็นผู้เริ่มเพาะพันธุ์ปลาทองสายพันธุ์เกล็ดแก้ว
{ "answer": [ "ไทย" ], "answer_begin_position": [ 557 ], "answer_end_position": [ 560 ] }
3,596
246,344
รัฐศาสตร์ กรสูต รัฐศาสตร์ กรสูต (ชื่อเล่น: เปปเปอร์) ปัจจุบันมีชื่อเสียงด้านวิชาการ และ การบริหารด้าน IT/ Digital จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เคยเป็นนักร้อง นักแสดง และนายแบบชาวไทย มีชื่อเสียงจากการเป็นสมาชิกบอยแบนด์ ยูเอชที เมื่อปี พ.ศ. 2537 และจากการเป็นนักแสดงสังกัดเอ็กแซ็กท์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้าน Internet Technology เป็นอาจารย์สอนอยู่ที่ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, สาขาวิชา Computer Business หลักสูตรบริหารธุรกิจภาคภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, และเป็นผู้อำนวยการเว็บไซต์ sanook.com ให้บริษัท Sanook Online Limited จำกัด และปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ผู้จัดการประจำประเทศไทย (Country Manager) ของบริษัท LINE Corporationประวัติ ประวัติ. รัฐศาสตร์ กรสูต หรือ ดร.รัฐศาสตร์ กรสูต มีชื่อเล่นว่า เปปเปอร์ เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2519 เคยเป็นสมาชิกบอยแบนด์ ยูเอชที เมื่อปี พ.ศ. 2537 และนักแสดงสังกัดเอ็กแซ็กท์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และเป็นอาจารย์สอนอยู่ที่ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, สาขาวิชา Computer Business หลักสูตรบริหารธุรกิจภาคภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต รวมถึงเป็นผู้บริหารบริษัทไอทีการศึกษา การศึกษา. ดร.รัฐศาสตร์ กรสูต จบการศึกษาระดับมัธยม จากโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย ระดับ ปริญญาตรี สาขา บริหารรัฐกิจ จาก คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระดับปริญญาโท คณะระบบข้อมูลสารสนเทศ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Master of Information System - Software Engineering) (เกียรตินิยม - Graduated with honors) จากมหาวิทยาลัยเดอพอล เมืองชิคาโก, รัฐอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา ระหว่างปี พ.ศ. 2543-2545, และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก คณะศึกษาศาสตร์ สาขา Curriculum and Instruction (C&I) จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ผลงานเพลงผลงานเพลง. - พ.ศ. 2537 - ยูเอชที อัลบั้ม ดูดีดีนะเพื่อน - พ.ศ. 2538 - อัลบั้มพิเศษ 6.2.12 - พ.ศ. 2539 - ยูเอชที อัลบั้ม ซัมเมอร์ ไทม์ - พ.ศ. 2546 - ยูเอชที อัลบั้ม ทูยู (2U) - พ.ศ. 2547 - ยูเอชที อัลบั้ม เรด เมสเสจผลงานการแสดงละครโทรทัศน์ซิทคอมผลงานการแสดง. ซิทคอม. - หกตกไม่แตก (ช่อง 7) รับบทเป็น กัน - บ้านนี้มีรัก (รับบทเป็น แทน แฟนใหม่ของเบญ) - เป็นต่อ (รับบทเป็น ต๊ะ เพื่อนและคู่ปรับของเป็นต่อ) - ผู้กองเจ้าเสน่ห์ (รับบทเป็น "ผู้กองเพชร" ผู้กองหนุ่มผู้มีความลับปิดบังอยู่) - ร็อกมือขวา (รับบทเป็น "พสุธา,สุ" เพื่อนของสายชล น้องของอำพล)อื่นๆอื่นๆ. - ผู้จัดการประจำประเทศไทย คนแรกของ LINE Corporation
รัฐศาสตร์ กรสูต เคยเป็นสมาชิกวงดนตรีชายล้วนวงใด
{ "answer": [ "ยูเอชที" ], "answer_begin_position": [ 305 ], "answer_end_position": [ 312 ] }
3,597
246,344
รัฐศาสตร์ กรสูต รัฐศาสตร์ กรสูต (ชื่อเล่น: เปปเปอร์) ปัจจุบันมีชื่อเสียงด้านวิชาการ และ การบริหารด้าน IT/ Digital จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เคยเป็นนักร้อง นักแสดง และนายแบบชาวไทย มีชื่อเสียงจากการเป็นสมาชิกบอยแบนด์ ยูเอชที เมื่อปี พ.ศ. 2537 และจากการเป็นนักแสดงสังกัดเอ็กแซ็กท์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้าน Internet Technology เป็นอาจารย์สอนอยู่ที่ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, สาขาวิชา Computer Business หลักสูตรบริหารธุรกิจภาคภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, และเป็นผู้อำนวยการเว็บไซต์ sanook.com ให้บริษัท Sanook Online Limited จำกัด และปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ผู้จัดการประจำประเทศไทย (Country Manager) ของบริษัท LINE Corporationประวัติ ประวัติ. รัฐศาสตร์ กรสูต หรือ ดร.รัฐศาสตร์ กรสูต มีชื่อเล่นว่า เปปเปอร์ เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2519 เคยเป็นสมาชิกบอยแบนด์ ยูเอชที เมื่อปี พ.ศ. 2537 และนักแสดงสังกัดเอ็กแซ็กท์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และเป็นอาจารย์สอนอยู่ที่ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, สาขาวิชา Computer Business หลักสูตรบริหารธุรกิจภาคภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต รวมถึงเป็นผู้บริหารบริษัทไอทีการศึกษา การศึกษา. ดร.รัฐศาสตร์ กรสูต จบการศึกษาระดับมัธยม จากโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย ระดับ ปริญญาตรี สาขา บริหารรัฐกิจ จาก คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระดับปริญญาโท คณะระบบข้อมูลสารสนเทศ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Master of Information System - Software Engineering) (เกียรตินิยม - Graduated with honors) จากมหาวิทยาลัยเดอพอล เมืองชิคาโก, รัฐอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา ระหว่างปี พ.ศ. 2543-2545, และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก คณะศึกษาศาสตร์ สาขา Curriculum and Instruction (C&I) จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ผลงานเพลงผลงานเพลง. - พ.ศ. 2537 - ยูเอชที อัลบั้ม ดูดีดีนะเพื่อน - พ.ศ. 2538 - อัลบั้มพิเศษ 6.2.12 - พ.ศ. 2539 - ยูเอชที อัลบั้ม ซัมเมอร์ ไทม์ - พ.ศ. 2546 - ยูเอชที อัลบั้ม ทูยู (2U) - พ.ศ. 2547 - ยูเอชที อัลบั้ม เรด เมสเสจผลงานการแสดงละครโทรทัศน์ซิทคอมผลงานการแสดง. ซิทคอม. - หกตกไม่แตก (ช่อง 7) รับบทเป็น กัน - บ้านนี้มีรัก (รับบทเป็น แทน แฟนใหม่ของเบญ) - เป็นต่อ (รับบทเป็น ต๊ะ เพื่อนและคู่ปรับของเป็นต่อ) - ผู้กองเจ้าเสน่ห์ (รับบทเป็น "ผู้กองเพชร" ผู้กองหนุ่มผู้มีความลับปิดบังอยู่) - ร็อกมือขวา (รับบทเป็น "พสุธา,สุ" เพื่อนของสายชล น้องของอำพล)อื่นๆอื่นๆ. - ผู้จัดการประจำประเทศไทย คนแรกของ LINE Corporation
รัฐศาสตร์ กรสูต มีชื่อเล่นว่าอะไร
{ "answer": [ "เปปเปอร์" ], "answer_begin_position": [ 133 ], "answer_end_position": [ 141 ] }
3,598
356,591
ทันน์ฮอยเซอร์ ทันน์ฮอยเซอร์ อุนท์เดอร์ซังเงอร์ครีก อัฟวาร์ทบูร์ก (; ) เป็นอุปรากรภาษาเยอรมันข้อมูล ข้อมูล. ทันน์ฮอยเซอร์ อุนท์เดอร์ซังเงอร์ครีก อัฟวาร์ทบูร์ก เป็นอุปรากรภาษาเยอรมันความยาว 3 องก์ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดยริชาร์ด วากเนอร์ โดยนำเค้าโครงมาจากบทกวี Elementargeister ของไฮน์ริก ไฮน์ (ค.ศ. 1797 – 1856) ที่ดัดแปลงมาจากตำนานพื้นบ้านเยอรมนี และเรื่อง The Singer's Contest ของอี. ที. เอ. ฮอฟแมนน์ และเรื่องอื่นๆ อีกหลายเรื่อง เกี่ยวกับตำนานของวีนัสเนื้อเรื่อง เนื้อเรื่อง. เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 13 ชายหนุ่มรูปงามชื่อไฮน์ริก ทันน์ฮอยเซอร์ ถูกเทพี วีนัส กักขังไว้ในหุบเขาลึกลับชื่อ วีนัสเบิร์ก วีนัสพยายามยั่วยวนและขอความรักจากทันน์ฮอยเซอร์ แต่ตัวเขาปฏิเสธและเรียกร้องหาอิสรภาพ เขาประกาศว่าจิตวิญญาณของเขานั้นมั่นคงต่อพระแม่มารี ด้วยคำประกาศนั้น ทำให้วีนัสเบิร์กและเหล่าบริวารของวีนัสมลายหายไปในทันที ทันน์ฮอยเซอร์พบตัวเองอยู่ในแคว้นทูรินเกีย ขณะนั้นลอร์ดแฮร์มันน์ เจ้าของปราสาทวาร์ทบูร์กแห่งทูรินเกีย ได้จัดการประกวดประชันร้องเพลง โดยผู้ชนะเลิศจะได้รับพรหนึ่งประการจากเอลิซาเบท หลานสาวของลอร์ดแฮร์มันน์การประพันธ์ การประพันธ์. วากเนอร์เริ่มร่างเค้าโครงเรื่องทันน์ฮอยเซอร์ ระหว่างเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม ค.ศ. 1842 และเขียนบทร้องเสร็จในเดือนเมษายนปีถัดมา จากนั้นจึงเริ่มประพันธ์ดนตรีจนแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 1845 โดยท่อนโอเวอร์เชอร์ที่มีชื่อเสียง ถูกประพันธ์แยกต่างหาก แล้วเสร็จหลังสุด รอบปฐมทัศน์จัดแสดงเป็นครั้งแรกที่เมืองเดรสเดนในวันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ. 1845 แต่ไม่ประสบความสำเร็จเท่าเรื่อง รีนซี ผลงานชิ้นก่อนหน้าของวากเนอร์ วากเนอร์ได้ปรับปรุงผลงานชิ้นนี้ตลอดมาจนถึงปี ค.ศ. 1860 และได้รับการร้องขอจากจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ให้ดัดแปลงเป็นพิเศษสำหรับจัดแสดงโดยคณะอุปรากรปารีส ที่โรงอุปรากร Salle Le Peletier ปารีส เพื่อเป็นเกียรติแก่พอลีน ฟอน เมทเทอร์นิก ภริยาของเอกอัครราชทูตออสเตรียประจำกรุงปารีส การแสดงครั้งนี้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 1861รายการอ้างอิง
ทันน์ฮอยเซอร์ อุนท์เดอร์ซังเงอร์ครีก อัฟวาร์ทบูร์กเป็นอุปรากรภาษาใด
{ "answer": [ "เยอรมัน" ], "answer_begin_position": [ 173 ], "answer_end_position": [ 180 ] }
3,599
356,591
ทันน์ฮอยเซอร์ ทันน์ฮอยเซอร์ อุนท์เดอร์ซังเงอร์ครีก อัฟวาร์ทบูร์ก (; ) เป็นอุปรากรภาษาเยอรมันข้อมูล ข้อมูล. ทันน์ฮอยเซอร์ อุนท์เดอร์ซังเงอร์ครีก อัฟวาร์ทบูร์ก เป็นอุปรากรภาษาเยอรมันความยาว 3 องก์ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดยริชาร์ด วากเนอร์ โดยนำเค้าโครงมาจากบทกวี Elementargeister ของไฮน์ริก ไฮน์ (ค.ศ. 1797 – 1856) ที่ดัดแปลงมาจากตำนานพื้นบ้านเยอรมนี และเรื่อง The Singer's Contest ของอี. ที. เอ. ฮอฟแมนน์ และเรื่องอื่นๆ อีกหลายเรื่อง เกี่ยวกับตำนานของวีนัสเนื้อเรื่อง เนื้อเรื่อง. เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 13 ชายหนุ่มรูปงามชื่อไฮน์ริก ทันน์ฮอยเซอร์ ถูกเทพี วีนัส กักขังไว้ในหุบเขาลึกลับชื่อ วีนัสเบิร์ก วีนัสพยายามยั่วยวนและขอความรักจากทันน์ฮอยเซอร์ แต่ตัวเขาปฏิเสธและเรียกร้องหาอิสรภาพ เขาประกาศว่าจิตวิญญาณของเขานั้นมั่นคงต่อพระแม่มารี ด้วยคำประกาศนั้น ทำให้วีนัสเบิร์กและเหล่าบริวารของวีนัสมลายหายไปในทันที ทันน์ฮอยเซอร์พบตัวเองอยู่ในแคว้นทูรินเกีย ขณะนั้นลอร์ดแฮร์มันน์ เจ้าของปราสาทวาร์ทบูร์กแห่งทูรินเกีย ได้จัดการประกวดประชันร้องเพลง โดยผู้ชนะเลิศจะได้รับพรหนึ่งประการจากเอลิซาเบท หลานสาวของลอร์ดแฮร์มันน์การประพันธ์ การประพันธ์. วากเนอร์เริ่มร่างเค้าโครงเรื่องทันน์ฮอยเซอร์ ระหว่างเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม ค.ศ. 1842 และเขียนบทร้องเสร็จในเดือนเมษายนปีถัดมา จากนั้นจึงเริ่มประพันธ์ดนตรีจนแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 1845 โดยท่อนโอเวอร์เชอร์ที่มีชื่อเสียง ถูกประพันธ์แยกต่างหาก แล้วเสร็จหลังสุด รอบปฐมทัศน์จัดแสดงเป็นครั้งแรกที่เมืองเดรสเดนในวันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ. 1845 แต่ไม่ประสบความสำเร็จเท่าเรื่อง รีนซี ผลงานชิ้นก่อนหน้าของวากเนอร์ วากเนอร์ได้ปรับปรุงผลงานชิ้นนี้ตลอดมาจนถึงปี ค.ศ. 1860 และได้รับการร้องขอจากจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ให้ดัดแปลงเป็นพิเศษสำหรับจัดแสดงโดยคณะอุปรากรปารีส ที่โรงอุปรากร Salle Le Peletier ปารีส เพื่อเป็นเกียรติแก่พอลีน ฟอน เมทเทอร์นิก ภริยาของเอกอัครราชทูตออสเตรียประจำกรุงปารีส การแสดงครั้งนี้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 1861รายการอ้างอิง
ใครคือผู้ประพันธ์ทำนองและคำร้องอุปรากรภาษาเยอรมันเรื่องทันน์ฮอยเซอร์ อุนท์เดอร์ซังเงอร์ครีก อัฟวาร์ทบูร์ก
{ "answer": [ "ริชาร์ด วากเนอร์" ], "answer_begin_position": [ 308 ], "answer_end_position": [ 324 ] }
3,600
415,558
งูแมมบา งูแมมบา () เป็นงูพิษร้ายแรงมากสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Dendroaspis จัดอยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา งูในสกุลงูแมมบานั้น เป็นงูที่มีลำตัวเรียวยาว มีส่วนหัวขนาดเล็ก มีตากลมโต มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 1.5-2 เมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 4 เมตร และเป็นงูที่มีความว่องไวมาก สามารถเลื้อยคลานได้เร็วถึง 12-20 กิโลเมตร/ชั่วโมง บนพื้นดิน จนถูกจัดให้เป็นงูที่เลื้อยไวที่สุดบนโลกมาแล้ว งูแมมบานั้น จะมีสีเดียวตลอดทั้งลำตัว โดยจะมีทั้งสีน้ำตาล, สีเขียว หรือเหลือบสีต่าง ๆ บนเกล็ด รวมถึงสีขาวอมเทาหรือเทาตุ่น ๆ ด้วย ในบางชนิด มีเกล็ดเรียบลื่น เกล็ดบนหัวมีขนาดใหญ่ มุมปากยาว ดวงตามีขนาดกลมโต มีความแตกต่างกันมากระหว่างเพศ โดยงูตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย เป็นงูที่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ ดำรงชีวิตทั้งบนต้นไม้และพื้นดิน กินอาหารได้แก่ สัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ รวมทั้งงูด้วยกันเองด้วย งูแมมบานั้นได้ถูกอนุกรมวิธานออกเป็นชนิดได้ 4 ชนิด คือ- งูกรีนแมมบาตะวันออก (Dendroaspis angusticeps) พบในแอฟริกาตอนใต้ทางทิศตะวันออก จัดเป็นงูในสกุลนี้ที่มีขนาดเล็กที่สุด และเป็นชนิดต้นแบบ- งูแมมบาเจมส์สัน (Dendroaspis jamesoni) พบในแอฟริกาตอนกลาง มี 2 ชนิดย่อย- งูแบล็คแมมบา (Dendroaspis polylepis) เป็นชนิดที่มีขนาดใหญ่และยาวที่สุด รวมทั้งมีอุปนิสัยก้าวร้าวมากที่สุด พบในแอฟริกากลางและตะวันออก- งูกรีนแมมบาตะวันตก (Dendroaspis viridis) มีลักษณะคล้ายกับงูกรีนแมมบาตะวันออก แต่มีสีที่แตกต่างออกไป และมีความยาวกว่า พบในแอฟริกาตะวันตก และพบในพื้นที่ ๆ จำกัดกว่า โดยงูแมมบาทุกชนิดนั้น เป็นงูที่มีพิษร้ายแรงมาก สามารถฆ่ามนุษย์ให้เสียชีวิตได้ ในเวลาเพียงไม่กี่นาที โดยมีผลต่อระบบประสาท ผู้ที่ถูกกัดจะเสียชีวิตด้วยอาการหัวใจวาย จนได้ชื่อว่า "แมมบา" อันหมายถึง "โลงศพ" เพราะมีส่วนหัวที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ได้ชื่อว่าเป็นงูที่อันตรายที่สุดในทวีปแอฟริกา โดยเฉพาะในงูแบล็คแมมบาที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และอาศัยหากินบนพื้นดิน ไม่ขึ้นไปบนต้นไม้ ที่สำคัญมีอุปนิสัยดุร้ายก้าวร้าว ไม่เกรงกลัวมนุษย์เหมือนงูชนิดอื่น ๆ อีกทั้งยังสามารถฉกกัดได้ด้วยความรวดเร็วและฉกในมุมที่ไม่มีงูสกุลใดทำได้ด้วย เนื่องจากกระดูกพาลาทีนไม่มีก้านกระดูกโคเอนัล ซ้ำยังสามารถฉกได้ไกลและสูงกว่า 2 เมตรอีกด้วย และสามารถแผ่แม่เบี้ยหรือพังพานได้ แม้จะไม่ใหญ่เท่าของงูเห่า (Naja spp.) และงูจงอาง (Ophiophagus hannah) ที่ถูกวงศ์เดียวกันก็ตาม นอกจากนี้เล้ว มีการวิจัยพบว่า พิษของงูแมมบานั้น โดยเฉพาะงูแบล็คแมมบา มีสารระงับความเจ็บปวดเหมือนกับมอร์ฟีน แต่มีผลข้างเคียงน้อยกว่า โดยที่คำว่า Dendroaspis ที่ใช้เป็นชื่อสกุลนั้น หมายถึง "งูต้นไม้"
งูแมมบามีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปอะไร
{ "answer": [ "แอฟริกา" ], "answer_begin_position": [ 215 ], "answer_end_position": [ 222 ] }
3,601
415,558
งูแมมบา งูแมมบา () เป็นงูพิษร้ายแรงมากสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Dendroaspis จัดอยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา งูในสกุลงูแมมบานั้น เป็นงูที่มีลำตัวเรียวยาว มีส่วนหัวขนาดเล็ก มีตากลมโต มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 1.5-2 เมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 4 เมตร และเป็นงูที่มีความว่องไวมาก สามารถเลื้อยคลานได้เร็วถึง 12-20 กิโลเมตร/ชั่วโมง บนพื้นดิน จนถูกจัดให้เป็นงูที่เลื้อยไวที่สุดบนโลกมาแล้ว งูแมมบานั้น จะมีสีเดียวตลอดทั้งลำตัว โดยจะมีทั้งสีน้ำตาล, สีเขียว หรือเหลือบสีต่าง ๆ บนเกล็ด รวมถึงสีขาวอมเทาหรือเทาตุ่น ๆ ด้วย ในบางชนิด มีเกล็ดเรียบลื่น เกล็ดบนหัวมีขนาดใหญ่ มุมปากยาว ดวงตามีขนาดกลมโต มีความแตกต่างกันมากระหว่างเพศ โดยงูตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย เป็นงูที่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ ดำรงชีวิตทั้งบนต้นไม้และพื้นดิน กินอาหารได้แก่ สัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ รวมทั้งงูด้วยกันเองด้วย งูแมมบานั้นได้ถูกอนุกรมวิธานออกเป็นชนิดได้ 4 ชนิด คือ- งูกรีนแมมบาตะวันออก (Dendroaspis angusticeps) พบในแอฟริกาตอนใต้ทางทิศตะวันออก จัดเป็นงูในสกุลนี้ที่มีขนาดเล็กที่สุด และเป็นชนิดต้นแบบ- งูแมมบาเจมส์สัน (Dendroaspis jamesoni) พบในแอฟริกาตอนกลาง มี 2 ชนิดย่อย- งูแบล็คแมมบา (Dendroaspis polylepis) เป็นชนิดที่มีขนาดใหญ่และยาวที่สุด รวมทั้งมีอุปนิสัยก้าวร้าวมากที่สุด พบในแอฟริกากลางและตะวันออก- งูกรีนแมมบาตะวันตก (Dendroaspis viridis) มีลักษณะคล้ายกับงูกรีนแมมบาตะวันออก แต่มีสีที่แตกต่างออกไป และมีความยาวกว่า พบในแอฟริกาตะวันตก และพบในพื้นที่ ๆ จำกัดกว่า โดยงูแมมบาทุกชนิดนั้น เป็นงูที่มีพิษร้ายแรงมาก สามารถฆ่ามนุษย์ให้เสียชีวิตได้ ในเวลาเพียงไม่กี่นาที โดยมีผลต่อระบบประสาท ผู้ที่ถูกกัดจะเสียชีวิตด้วยอาการหัวใจวาย จนได้ชื่อว่า "แมมบา" อันหมายถึง "โลงศพ" เพราะมีส่วนหัวที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ได้ชื่อว่าเป็นงูที่อันตรายที่สุดในทวีปแอฟริกา โดยเฉพาะในงูแบล็คแมมบาที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และอาศัยหากินบนพื้นดิน ไม่ขึ้นไปบนต้นไม้ ที่สำคัญมีอุปนิสัยดุร้ายก้าวร้าว ไม่เกรงกลัวมนุษย์เหมือนงูชนิดอื่น ๆ อีกทั้งยังสามารถฉกกัดได้ด้วยความรวดเร็วและฉกในมุมที่ไม่มีงูสกุลใดทำได้ด้วย เนื่องจากกระดูกพาลาทีนไม่มีก้านกระดูกโคเอนัล ซ้ำยังสามารถฉกได้ไกลและสูงกว่า 2 เมตรอีกด้วย และสามารถแผ่แม่เบี้ยหรือพังพานได้ แม้จะไม่ใหญ่เท่าของงูเห่า (Naja spp.) และงูจงอาง (Ophiophagus hannah) ที่ถูกวงศ์เดียวกันก็ตาม นอกจากนี้เล้ว มีการวิจัยพบว่า พิษของงูแมมบานั้น โดยเฉพาะงูแบล็คแมมบา มีสารระงับความเจ็บปวดเหมือนกับมอร์ฟีน แต่มีผลข้างเคียงน้อยกว่า โดยที่คำว่า Dendroaspis ที่ใช้เป็นชื่อสกุลนั้น หมายถึง "งูต้นไม้"
งูชนิดใดเป็นงูที่เลื้อยไวที่สุดในโลก
{ "answer": [ "งูแมมบา" ], "answer_begin_position": [ 90 ], "answer_end_position": [ 97 ] }
3,602
22,995
สะพานข้ามแม่น้ำแคว สะพานข้ามแม่น้ำแคว เป็นสะพานข้ามแม่น้ำแควใหญ่โครงสร้างเหล็กครึ่งวงกลม สลับโครงสร้างถัก ตอม่อคอนกรีตเสริมเหล็ก ตั้งอยู่ที่ตำบลท่ามะขาม อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศเหนือ ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 323 ประมาณ 4 กิโลเมตร แยกซ้ายประมาณ 400 เมตร ปัจจุบันใช้เป็นทางสัญจรของรถไฟสาย - หรือ ทางรถไฟสายมรณะ ในอดีตประวัติ ประวัติ. สะพานข้ามแม่น้ำแควเป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญยิ่งแห่งหนึ่ง เป็นสะพานที่สำคัญที่สุดของเส้นทางรถไฟสายมรณะ สร้างขึ้นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยกองทัพญี่ปุ่นได้เกณฑ์เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่ ทหารอังกฤษ อเมริกัน ออสเตรเลีย ฮอลันดา และนิวซีแลนด์ประมาณ 61,700 คน สมทบด้วยกรรมกรชาวจีน ญวน ชวา มลายู ไทย พม่า และอินเดีย อีกจำนวนมาก มาก่อสร้างทางรถไฟสายยุทธศาสตร์ เพื่อเป็นเส้นทางผ่านไปสู่ประเทศพม่า ซึ่งเส้นทางช่วงหนึ่งจะต้องข้ามแม่น้ำแควใหญ่ จึงต้องมีการสร้างสะพานขึ้น การสร้างสะพานและทางรถไฟสายนี้ เต็มไปด้วยความยากลำบาก ความทารุณของสงครามและโรคภัย ตลอดจนการขาดแคลนอาหาร ทำให้เชลยศึกหลายหมื่นคนต้องเสียชีวิตลง สะพานข้ามแม่น้ำแควใช้เวลาสร้างเพียง 1 เดือน โดยนำเหล็กจากมลายูมาประกอบเป็นชิ้น ๆ ตอนกลางทำเป็นสะพานเหล็ก 11 ช่วง หัวและโครงสะพานเป็นไม้ มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2486 ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2487 ได้ถูกทิ้งระเบิดหลายครั้งจนสะพานหักท่อนกลาง ภายหลังสงครามสิ้นสุดลง รัฐบาลไทยได้ซ่อมแซมใหม่ด้วยเหล็กรูปเหลี่ยม เมื่อปี พ.ศ. 2489 จนสามารถใช้งานได้ ปัจจุบัน มีการยกย่องให้เป็น สัญลักษณ์แห่งสันติภาพการเดินทางทางรถยนต์การเดินทาง. ทางรถยนต์. - จากกรุงเทพฯ ใช้ถนนเพชรเกษม (ทางหลวงหมายเลข 4) มุ่งหน้าสู่จังหวัดนครปฐม จากนั้นขับตรงไปมุ่งหน้าสู่จังหวัดราชบุรี - จากกรุงเทพฯ ใช้ถนนสายปิ่นเกล้า - นครชัยศรี (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 338) มุ่งหน้าสู่นครปฐม จากนั้นขับตรงไปมุ่งหน้าสู่จังหวัดราชบุรี - ทั้งสองเส้นทางด้านบนจะต้องผ่านแยกนครชัยศรี - จากแยกนครชัยศรี ขับตรงไป โดยจะผ่านสะพานไปบ้านแพ้ว ประมาณ 8.5 กิโลเมตร ผ่านสะพานไปตัวเมืองนครปฐม ประมาณ 0.5 กิโลเมตร ผ่านแยกไปจังหวัดสุพรรณบุรี ประมาณ 6.4 กิโลเมตร จากนั้นจะถึงสะพานไปจังหวัดกาญจนบุรี ประมาณ 9 กิโลเมตร รวมระยะทางประมาณ 24.4 กิโลเมตรทางรถโดยสารประจำทางทางรถโดยสารประจำทาง. - จากสถานีขนส่งสายใต้ใหม่ กรุงเทพฯ - กาญจนบุรี ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง โดยสามารถนั่งรถปรับอากาศสายกรุงเทพฯ-กาญจนบุรี แล้วไปลงที่สถานีขนส่งจังหวัดกาญจนบุรี - จากขนส่งกาญจนบุรีนั่งรถสายกาญจนบุรี - เอราวัณ หรือรถสายกาญจนบุรี - ทองผาภูมิ - สังขละบุรี ไปลงตรงแยกซ้ายมือเข้าสะพานข้ามแม่น้ำแคว จากนั้นนั่งมอเตอร์ไซต์รับจ้างเข้าไปประมาณ 700 เมตรทางรถไฟ ทางรถไฟ. ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ ป้ายหยุดรถไฟสะพานแควใหญ่ โดยสารขบวนรถไฟประจำ - หรือขบวนรถนำเที่ยวพิเศษ - (เฉพาะเสาร์ - อาทิตย์) ลงที่ ซึ่งอยู่ที่เชิงสะพานข้ามแม่น้ำแควพอดี
สะพานข้ามแม่น้ำแคว ในจังหวัดกาญจนบุรี สร้างขึ้นในสมัยใด
{ "answer": [ "สงครามโลกครั้งที่ 2" ], "answer_begin_position": [ 584 ], "answer_end_position": [ 603 ] }
3,603
884,640
เอลฟ์จิฟูแห่งนอร์แธมตัน เอลฟ์จิฟูแห่งนอร์แธมตัน [ภาษาอังกฤษ Ælfgifu of Northampton] (ค.ศ.990-หลังค.ศ.1036) เป็นมเหสีพระองค์แรกของพระเจ้าคนุตแห่งอังกฤษและเดนมาร์ก และพระราชมารดาของพระเจ้าแฮโรลด์ที่ 1 แห่งอังกฤษ (ค.ศ.1035-1040) ทรงเป็นราชินีผู้สำเร็จราชการแทนแห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ปีค.ศ.1030-1035การเสด็จพระราชสมภพ และการอภิเษกสมรส การเสด็จพระราชสมภพ และการอภิเษกสมรส. เอลฟ์จิฟูเสด็จพระราชสมภพราวปีค.ศ.990 ในตระกูลที่ร่ำรวยและเป็นที่นับหน้าถือตาทางตอนเหนือของอังกฤษ ความจงรักภักดีที่พระบิดาของพระองค์มีต่อผู้รุกรานชาวเดนท์ทำให้เอลฟ์จิฟูได้อภิเษกสมรสกับพระโอรสของผู้นำไวกิ้ง ข้อมูลที่มีอยู่น้อยมากบอกว่าการจับคู่เป็นการอภิเษกสมรสทางการเมือง ในตอนที่มีการอภิเษกสมรส พระราชบิดาของคนุต สเวนเคราส้อม (พระราชนัดดาของฮารัลด์ฟันฟ้า) ได้ตัดสินพระทัยที่จะพิชิตอังกฤษ ส่วนหนึ่งเพื่อแก้แค้นให้กับการสิ้นพระชนม์ของพระขนิษฐาในการฆ่าล้างเผ่าพันธ์ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ.1002 ตามพระราชบัญชาของพระเจ้าเอเธลเร็ด คานุตต่อสู้เคียงข้างพระราชบิดาที่ชนะในท้ายที่สุด แต่กลับสวรรคตในอีก 5 อาทิตย์ต่อมา เอเธลเร็ดที่หนีไปบ้านเกิดของพระมเหสี เอ็มม่า ได้รับการอัญเชิญจากสภาวิทันให้กลับมาปกครองอังกฤษ คานุตหนีไปเดนมาร์กพร้อมกับเอลฟ์จิฟูเพื่อสั่งสมเงินและกองกำลัง และปีต่อมาพระองค์เสด็จกลับมาพิชิตประเทศ ปราบทั้งเอเธลเร็ดที่สวรรคตและพระโอรสองค์โต เอ็ดมุนด์จอมพลัง แต่ในฐานะผู้ปกครองชาติที่คนส่วนใหญ่เป็นชาวคริสต์ (มีกลุ่มเล็กๆที่เป็นเพแกน ส่วนใหญ่อยู่ในเดนลอว์) สภาของคานุตประกาศว่ากษัตริย์ควรอภิเษกสมรสกับมเหสีชาวคริสต์และทอดทิ้งเอลฟ์จิฟู ผู้ที่พระองค์ได้ทำพิธีผูกข้อมือตามธรรมเนียมของเพแกน สตรีที่สภาวิทันเลือกคือเอ็มม่าแห่งนอร์ม็องดี มเหสีม่ายของเอเธลเร็ด เพื่อป้องกันไม่ให้พระโอรสของเอเธลเร็ด เอ็ดเวิร์ดกับอัลเฟรด ช่วงชิงอำนาจของพระองค์ คานุตจึงอภิเษกสมรสกับพระมารดาของทั้งสองพระองค์ เอ็มม่า ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1017 การอภิเษกสมรสกับเอ็มม่าก็เพื่อรักษาราชวงศ์ดั้งเดิมไว้ต่อไป และพระองค์ได้อาศัยประสบการณ์และความเฉียบแหลมของพระนาง ทว่าพระองค์ไม่ได้ทอดทิ้งมเหสีพระองค์แรก บางทีเอลฟ์จิฟูอาจเป็นพระสนมหรือไม่ก็มเหสีที่ผูกข้อมือด้วยตามธรรมเนียมของชาวสแกนดิเนเวีย สันนิษฐานกันว่าพระราชบุตรที่มีกับเอลฟ์จิฟูเป็นรัชทายาทแห่งบัลลังก์เดนมาร์กและนอร์เวย์ ขณะที่พระราชบุตรของเอ็มม่าที่มีกับคานุตจะได้เป็นรัชทายาทแห่งบัลลังก์อังกฤษ เอ็มม่ามีพระราชบุตรที่มีชีวิตรอดกับคานุตสองพระองค์ พระโอรส ฮาร์ธาคนุต และพระธิดา กุนฮิลด้าการเป็นราชินีผู้สำเร็จราชการแทนแห่งนอร์เวย์ และพระมารดาของกษัตริย์แห่งอังกฤษ การเป็นราชินีผู้สำเร็จราชการแทนแห่งนอร์เวย์ และพระมารดาของกษัตริย์แห่งอังกฤษ. ในปีค.ศ.1028 คานุตพิชิตนอร์เวย์ และในปีค.ศ.1030 พระองค์วางตำแหน่งให้พระโอรส สเวน และพระมเหสี เอลฟ์จิฟู เป็นกษัตริย์และผู้สำเร็จราชการแทนแห่งนอร์เวย์ ทว่าเอลฟ์จิฟูบริหารราชการได้ย่ำแย่และเมื่อคานุตสวรรคตในปีค.ศ.1035 พระองค์และพระโอรสถูกขับไล่ออกจากนอร์เวย์โดยพระเจ้ามักนุส หลังคานุตสวรรคต ฮาร์ธาคนุต พระโอรสที่พระองค์ตั้งใจจะให้สืบสัตติวงศ์พัวพันอยู่กับการสู้รบกับมักนุสแห่งนอร์เวย์และไม่สามารถทิ้งอาณาจักรของพระองค์ไปได้ เอ็มม่าและเอิร์ลก็อดวินต้องการให้ฮาร์ธาคนุตขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งอังกฤษ ขณะที่เอลฟ์จิฟูและเอิร์ลลีโอฟริคสนับสนุนแฮโรลด์ผู้เท้าไว โอรสสองพระองค์ของเอเธลเร็ด เอ็ดเวิร์ดและอัลเฟรด ก็ได้อ้างสิทธิ์ในบัลลังก์เช่นกัน เนื่องจากฮาร์ธาคนุตล่าช้าและเอ็ดเวิร์ดกับอัลเฟรดถูกขับไล่ออกจากประเทศไปนอร์ม็องดี ชาวอังกฤษจึงเลือกแฮโรลด์ผู้เท้าไวเป็นกษัตริย์ เอ็มม่าได้ส่งพระราชหัตถเลขาไปขอร้องฮาร์ธาคนุตให้กลับมายึดประเทศ ฮาร์ธาคนุตปฏิเสธ พระองค์เลือกที่จะอยู่ในเดนมาร์กและปล่อยให้แฮโรลด์เป็นผู้ปกครองของอังกฤษโดยไร้การโต้แย้ง แต่เอ็มม่าไม่อยู่เฉย พระองค์อัญเชิญพระราชโอรสด้วยการส่งพระศพของสวามีพระองค์แรก (เอเธลเร็ด) กลับมาจากนอร์ม็องดีที่พระราชโอรสของพระองค์อาศัยอยู่นับตั้งแต่พระราชบิดาสวรรคต น่าเศร้าที่แผนการล้มเหลว จบลงด้วยการสิ้นพระชนม์ของพระโอรส อัลเฟรด ภายใต้สถานการณ์ที่ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันมาจนถึงทุกวันนี้ เอ็มม่าถึงขั้นพยายามทำลายชื่อเสียงของแฮโรลด์ผู้เท้าไว ในหนังสือที่เขียนถึงชีวประวัติของพระองค์ Encomium Emmae Reginae พระองค์กล่าวหาแฮโรลด์ว่าเป็นลูกนอกกฎหมาย ไม่ใช่เพราะเป็นพระโอรส "ที่ประสูติจากพระสนม" ของคนุต (พระองค์หมายถึงเอลฟ์จิฟู) แต่ "ถูกเอาตัวมาอย่างลับๆจากข้ารับใช้ที่คลอดลูก และนำมาวางไว้ในห้องบรรทมของพระสนมที่ป่วย" แหล่งข้อมูล แหล่งข้อมูล. - Aelfgifu of Northampton & Emma of Normandy: Strong Women in a Man’s World - Aelfgifu of Northampton - Ælfgifu of Northampton
มเหสีพระองค์แรกของพระเจ้าคนุตแห่งอังกฤษและเดนมาร์กมีพระนามว่าอะไร
{ "answer": [ "เอลฟ์จิฟูแห่งนอร์แธมตัน" ], "answer_begin_position": [ 122 ], "answer_end_position": [ 145 ] }
3,604
746,947
ช่องเขามานา ช่องเขามานา (; ) หรือ มานาลา, ชีร์บิตยา, ชีร์บิตยา-ลา และ ดังกรี-ลา เป็นช่องเขาระหว่างเทือกเขาหิมาลัย ตั้งอยู่ระหว่างพรมแดนทิเบตกับอินเดีย อยู่ที่ความสูง 5,545 เมตร (18,192 ฟุต) เป็นช่องที่เดินทางด้วยพาหนะที่สูงที่สุดในโลก ถนนที่ใช้สัญจรสร้างในช่วงปี ค.ศ. 2005–2010 สำหรับปฏิบัติการทางทหารโดยองค์การถนนพรมแดน (Border Roads Organisation) ของอินเดีย สามารถมองเห็นถนนเหล่านี้ได้บนกูเกิล เอิร์ธ ช่องเขามานาตั้งอยู่ในอุทยานแห่งชาตินันทาเทวี (Nanda Devi National Park) ห่างจากตอนเหนือของเมืองมานา 24 กิโลเมตร และ 27 กิโลเมตรจากเมืองพัทรีนาถ (Badrinath) เมืองที่มีความสำคัญของศาสนาฮินดูในรัฐอุตตราขัณฑ์ ช่องเขาแห่งนี้เป็นแหล่งต้นน้ำของแม่น้ำสรัสวตี แม่น้ำสาขาของแม่น้ำอลกนันทา (Alaknanda River) ซึ่งเป็นแม่น้ำสาขาที่ยาวที่สุดของแม่น้ำคงคา นอกจากนี้ยังเป็นจุดที่เหมาะสำหรับการปีนยอดเขาชอคามบา (Chaukhamba) ช่องเขามานาเป็นเส้นทางสัญจรและค้าขายระหว่างรัฐอุตตราขัณฑ์กับทิเบตมาตั้งแต่โบราณ คำว่า "มานา" มาจาก "มณีภัทรอาศรม" (Manibhadra Ashram) ซึ่งเป็นเมืองโบราณในเขตเมืองมานา ในปี ค.ศ. 1624 นักบวชชาวโปรตุเกสจากคณะเยสุอิต 2 รูปคือ อังตอนีอู ดือ อังดราดือ (António de Andrade) และมานูแอล มาร์กึช (Manuel Marques) เป็นชาวยุโรป 2 คนแรกที่เดินทางเข้าทิเบตผ่านช่องเขาแห่งนี้ มีการใช้ช่องเขามานาเรื่อยมาจนประเทศจีนประกาศปิดเส้นทางในปี ค.ศ. 1951 ต่อมาในวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1954 ประเทศจีนและประเทศอินเดียได้ร่วมกันลงนามในข้อตกลงยินยอมให้ชนพื้นเมืองและผู้แสวงบุญมีสิทธิ์ในการเดินทางเข้าออกสองประเทศผ่านช่องเขาแห่งนี้
ช่องเขาระหว่างเทือกเขาหิมาลัยที่ตั้งอยู่ระหว่างพรมแดนทิเบตกับอินเดียมีชื่อว่าอะไร
{ "answer": [ "ช่องเขามานา" ], "answer_begin_position": [ 98 ], "answer_end_position": [ 109 ] }
3,605
184,658
สันต์ ศรุตานนท์ พลตำรวจเอก สันต์ ศรุตานนท์ นายกสมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์,ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สมาคมขี่ม้าโปโลแห่งประเทศไทย และอดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติประวัติ ประวัติ. สันต์ ศรุตานนท์ เกิดวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2487 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของนายกระสันต์ กับนางประยงค์ ศรุตานนท์ สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัยในปี 2505 และโรงเรียนนายร้อยตำรวจในปี 2510 เขาเคยดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2544 - 30 กันยายน พ.ศ. 2547 สันต์สมรสกับคุณหญิงเกิดศิริ ศรุตานนท์ (สกุลเดิม เศรษฐบุตร) ธิดาของสำเนา และอารินทร์ เศรษฐบุตร แต่ไม่มีบุตร-ธิดาด้วยกัน นอกจากนี้สันต์ยังมีความสัมพันธ์กับยุวเรต กังสถาน ที่ต่อมาได้ใช้นามสกุลศรุตานนท์ด้วย เธออ้างว่าได้รับอนุญาตจากสันต์ เพื่อตอบแทนการที่เธอปรนนิบัติพัดวีเขา และมักปรากฏตัวออกงานร่วมกันบ่อยครั้งจนมีเสียงเล่าลือกันว่าสันต์หย่าจากภริยาเดิม ซึ่งในเวลาต่อมาเกิดศิริ ภริยาในสมรสจึงส่งจดหมายชี้แจงสื่อมวลชนว่าตนยังคงสภาพสมรสกับสันต์อยู่ อันส่งผลให้มีผู้ใช้อินสตาแกรมบางส่วนไม่พอใจพฤติกรรมดังกล่าวของยุวเรตได้โจมตีด้วยการแสดงความเห็นต่าง ๆ ในอินสตาแกรมส่วนตัวของยุวเรต จนเธอออกมาโต้ตอบว่า "ค่ะ ไปดราม่าที่อื่นนะคะ" ที่เวลาต่อมายุวเรตลบภาพที่มีปัญหานั้นออกประสบการณ์ประสบการณ์. - พ.ศ. 2528 คณะอนุกรรมการของคณะกรรมการ ป.ป.ป. - พ.ศ. 2539 กรรมการอำนวยการปรับปรุงการบริหารพัสดุ สำนักงบประมาณ - พ.ศ. 2541 กรรมการว่าด้วยพัสดุ - พ.ศ. 2541 กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน - พ.ศ. 2542 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค - พ.ศ. 2544 กรรมการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค - พ.ศ. 2544 กรรมการ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) - พ.ศ. 2544 กรรมการ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) - พ.ศ. 2544 กรรมการ การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยการกีฬา การกีฬา. พล.ต.อ.สันต์ ศรุตานนท์ เป็นกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย วาระปี พ.ศ. 2552-2556 นายกสมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ และที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สมาคมขี่ม้าโปโลแห่งประเทศไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2540 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาประมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - พ.ศ. 2537 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.) - พ.ศ. 2546 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) - พ.ศ. 2546 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นปฐมดิเรกคุณาภรณ์ (ป.ภ.) - เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)
ใครคืออดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติที่ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 ถึง 2547
{ "answer": [ "พลตำรวจเอก สันต์ ศรุตานนท์" ], "answer_begin_position": [ 106 ], "answer_end_position": [ 132 ] }
3,606
528,179
อาสนวิหารแวซง อาสนวิหารแวซง () เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระเมืองนาซาเร็ธแห่งแวซง () เป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชและอดีตอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลแวซงจนกระทั่งถูกยุบรวมเข้ากับอัครมุขมณฑลอาวีญงตั้งแต่ ค.ศ. 1801 ตั้งอยู่ที่เมืองแวซง-ลา-รอแมน จังหวัดโวกลูซ แคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารี ในอดีตอาสนวิหารเคยเป็นศูนย์กลางของเมืองเก่าตั้งแต่สมัยยุคกลาง (ซึ่งไม่เหลือร่อยรอยในปัจจุบัน) สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ตามผังแบบบาซิลิกา ซึ่งได้มีการบูรณะต่อเติมในอีกในช่วงหนึ่งร้อยปีต่อมา รูปเแบบทางสถาปัตยกรรมของอาสนวิหารแห่งนี้ถือเป็นหนึ่งในสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์แบบพรอว็องส์ที่สวยที่สุดแห่งหนึ่งในปัจจุบัน อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840
อาสนวิหารแม่พระเมืองนาซาเร็ธแห่งแวซงในประเทศฝรั่งเศสสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่เท่าไร
{ "answer": [ "11" ], "answer_begin_position": [ 581 ], "answer_end_position": [ 583 ] }
3,607
528,179
อาสนวิหารแวซง อาสนวิหารแวซง () เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระเมืองนาซาเร็ธแห่งแวซง () เป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชและอดีตอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลแวซงจนกระทั่งถูกยุบรวมเข้ากับอัครมุขมณฑลอาวีญงตั้งแต่ ค.ศ. 1801 ตั้งอยู่ที่เมืองแวซง-ลา-รอแมน จังหวัดโวกลูซ แคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารี ในอดีตอาสนวิหารเคยเป็นศูนย์กลางของเมืองเก่าตั้งแต่สมัยยุคกลาง (ซึ่งไม่เหลือร่อยรอยในปัจจุบัน) สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ตามผังแบบบาซิลิกา ซึ่งได้มีการบูรณะต่อเติมในอีกในช่วงหนึ่งร้อยปีต่อมา รูปเแบบทางสถาปัตยกรรมของอาสนวิหารแห่งนี้ถือเป็นหนึ่งในสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์แบบพรอว็องส์ที่สวยที่สุดแห่งหนึ่งในปัจจุบัน อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840
อาสนวิหารแม่พระเมืองนาซาเร็ธแห่งแวซงในประเทศฝรั่งเศสได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. ใด
{ "answer": [ "1840" ], "answer_begin_position": [ 846 ], "answer_end_position": [ 850 ] }
3,608
836,185
แบร์กฮอฟ แบร์กฮอฟ () เป็นบ้านพักตากอากาศส่วนตัวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในภูเขาโอเบอร์ซัลซแบร์ก (Obersalzberg) ของเทือกเขาไบเอิร์นแอลป์ ใกล้กับแบร์ชเทิสกาเดินในรัฐบาวาเรีย เป็นบ้านพักตากอากาศอีกแหน่งหนึ่งนอกจากรังหมาป่า ถือเป็นฐานบัญชาการของฮิตเลอร์เพื่อรุกรานสหภาพโซเวียต ฮิตเลอร์ได้ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ในแบร์กฮอฟมากกว่าที่ใดในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ที่แห่งนี้เป็นฐานบัญชาการของฮิตเลอร์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดแห่งหนึ่งในฐานบัญชาการหลายแห่ง ถูกสร้างขึ้นและปรับปรุงขยายห้องจำนวนมากและเปลี่ยนชื่อในปี 1935,แบร์กฮอฟเป็นบ้านพักที่ฮิตเลอร์ชอบเข้ามาพักผ่อนในช่วงวันหยุดมาเป็นเวลาสิบปี.ในช่วงเดือนเมษายน 1945 บ้านได้รับความเสียหายจากการทิ้งระเบิดของอังกฤษ,ถูกวางเพลิงโดยกองกำลังทหารเอสเอสที่กำลังล่าถอยในช่วงต้นเดือนพฤษภาคมและภายหลังก็ถูกรูทของโดยทหารสัมพันธมิตรที่ได้เข้ามาถึงพื้นที่. รัฐบาลบาวาเรียได้สั่งให้ทำลายเศษซากที่ถูกเผาในปี 1952
บ้านพักตากอากาศส่วนตัวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในภูเขาโอเบอร์ซัลซแบร์กของเทือกเขาไบเอิร์นแอลป์มีชื่อว่าอะไร
{ "answer": [ "แบร์กฮอฟ" ], "answer_begin_position": [ 92 ], "answer_end_position": [ 100 ] }
3,609
395,046
ลับเฉพาะคนรู้ใจ ลับเฉพาะคนรู้ใจ เป็นรายการโทรทัศน์ ประเภท เกมโชว์ ผลิตรายการโดย บริษัท บอร์น แอนด์ แอสโซซิเอทด์ จำกัด เป็นรายการที่นำดารา 1 คน มาให้ผู้เข้าแข่งขัน 3 คน ทายใจดารา โดยมี ไตรภพ ลิมปพัทธ์ เป็นพิธีกร ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ระยะเวลาออกอากาศ 2540 - 2544กติกา กติกา. ผู้เข้าแข่งขันมีทั้งหมด 3 คน ต่อมาในปี 2544 ลดลงผู้เข้าแข่งขันเหลือ 2 คน ผู้แข่งขันจะต้องตอบคำถามทายใจดารารู้ใจทั้ง 3 ข้อ โดยจะมีคะแนนตามลำดับ ข้อที่ 1 มี 1 คะแนน ข้อที่ 2 มี 2 คะแนน และข้อที่ 3 มี 3 คะแนน เมื่อจบการแข่งขัน ผู้เข้าแข่งขันที่ทำคะแนนได้มากที่สุดจะเข้ารอบ Jackpot ไปพร้อมกับดารารับเชิญทันทีรอบตัดสิน รอบตัดสิน. รอบนี้จะเล่นเฉพาะผู้ที่มีคะแนนเสมอกัน โดยกติกาคือ ผู้แข่งขันที่มีคะแนนเสมอกัน จะต้องมาจับลูกแก้ว ใครจับลูกแก้วเข้ารอบ ได้เข้ารอบไปพร้อมกับดารารู้ใจทันที ส่วนดารารู้ใจรับรูปของตนเองจากทางรายการรอบสุดท้าย รอบสุดท้าย. รอบสุดท้าย (Jackpot) ของรายการลับเฉพาะคนรู้ใจ ปี 2540 - 2542 จะมีแผ่นป้ายของผู้สนับสนุนรายการทั้งหมด 20 แผ่นป้าย โดยแบ่งเป็นแผ่นป้ายลับเฉพาะคนรู้ใจ 10 แผ่นป้าย และแผ่นป้าย 5,000 บาทอีก 10 แผ่นป้าย (ผู้สนับสนุนหลักในการชิงโชค คือ รถจักรยานยนต์ยามาฮ่า) ผู้เข้าแข่งขันจะทำการเลือกทั้งหมด 10 แผ่นป้าย โดยการเลือกครั้งละ 2 แผ่นป้าย ถ้าหากจับคู่ได้ลับเฉพาะคนรู้ใจทั้ง 2 แผ่นป้ายจะได้รับเงินรางวัล 20,000 บาท ถ้าหากจับคู่ได้ 5,000 บาททั้ง 2 แผ่นป้ายจะได้รับเงินรางวัล 10,000 บาท แต่ถ้าจับคู่ไม่ถูกต้องจะได้รับเงินรางวัลแค่ 5,000 บาทเท่านั้น ทั้งนี้ถ้าหากเปิดแผ่นป้ายลับเฉพาะคนรู้ใจได้ครบ 5 คู่ (10 แผ่นป้าย) จะได้รับเงินรางวัล 100,000 บาท และรถจักรยานยนต์ ยามาฮ่า วีโอก้า มูลค่า 270,000 บาท รวมรางวัลมูลค่าทั้งหมด 370,000 บาท ถ้าเปิดเจอ 5,000 5 คู่ ได้เงิน 50,000 บาท แต่ในบางครั้งพิธีกรจะเปิดเพิ่มเพื่อแถมเงินรางวัลให้กับผู้เข้าแข่งขัน ต่อมาในปี 2543 ถูกปรับเปลี่ยนโดยมีแผ่นป้ายของผู้สนับสนุนรายการทั้งหมด 20 แผ่นป้ายเช่นเดิม แต่ปรับเปลี่ยนกติกาโดยแบ่งเป็นแผ่นป้ายลับเฉพาะคนรู้ใจ 10 แผ่นป้าย และแผ่นป้ายกุญแจหัก 10 แผ่นป้าย (ผู้สนับสนุนหลักในการชิงโชค คือ รถจักรยานยนต์ยามาฮ่า) ผู้เข้าแข่งขันจะทำการเลือกทั้งหมด 10 แผ่นป้าย โดยการเลือกครั้งละ 2 แผ่นป้าย ถ้าหากจับคู่ได้ลับเฉพาะคนรู้ใจทั้ง 2 แผ่นป้ายจะได้รับเงินรางวัลตามลำดับคู่ เช่น คู่ที่ 1 - 10,000 บาท คู่ที่ 2 - 20,000 บาท คู่ที่ 3 - 30,000 บาท คู่ที่ 4 - 40,000 บาท คู่ที่ 5 - 50,000 บาท ถ้าหากเจอแผ่นป้ายกุญแจหักในป้ายใดป้ายหนึ่งจะไม่ได้รับเงินรางวัลใดๆ ทั้งสิ้น (แต่คุณไตรภพ มักให้ราคาเพียงครึ่งหนึ่ง หรือตามใจผู้เล่น แลกกับการไม่ต้องเปิดแผ่นป้าย เช่น 10,000 ให้ 5,000 ไม่ต้องเปิด ส่วนใหญ่จะไม่เอาและไม่ได้เงินเพราะเจอกุญแจหัก แต่มีคู่คุณ ชาคริต แย้มนาม - ศรีพรรณ ชื่นชมบูรณ์ 4 คู่ไม่ได้เงินรางวัลเลยแม้แต่บาทเดียว พอถึงคู่สุดท้ายคุณไตรภพให้ราคา 49,999 บาท และทั้งคู่ก็เอาเงินจำนวนนั้น และแผ่นป้ายทั้ง 2 เป็นลับเฉพาะคนรู้ใจทั้งคู่ ก็ได้เงินจำนวนนั้นไป) ทั้งนี้ถ้าหากเปิดแผ่นป้ายลับเฉพาะคนรู้ใจได้ครบ 5 คู่ (10 แผ่นป้าย) จะได้รับเงิน 150,000 บาท และมอเตอร์ไซค์ยามาฮ่า วีโอก้า มูลค่า 270,000 บาท รวมรางวัลมูลค่าทั้งหมด 420,000 บาท ต่อมาในปี 2544 ถูกปรับเปลี่ยนโดยมีแผ่นป้ายของทางรายการทั้งหมด 8 แผ่นป้าย แบ่งเป็น 2 ฝั่ง คือฝั่งสีฟ้า และสีชมพู แต่ละฝั่งจะมีแผ่นป้ายลับเฉพาะคนรู้ใจ 1 แผ่นป้าย และแผ่นป้ายกุญแจหัก 3 แผ่นป้าย ผู้เข้าแข่งขันจะทำการเลือกแผ่นป้ายโดยเลือกมาเพียงคู่เดียวเท่านั้น (เลือกได้ 1 แผ่นป้ายต่อ 1 ฝั่ง) ทั้งนี้ ผู้เข้าแข่งขันที่เข้ารอบมาจะมีเงินรางวัลตั้งต้น 55,000 บาท ถ้าหากจับคู่ได้ลับเฉพาะคนรู้ใจทั้ง 2 แผ่นป้าย จะได้รับแหวนเพชรมูลค่า 30,000 บาท รถจักรยานยนต์ยามาฮ่า เฟรช มูลค่า 38,000 บาท และรางวัลอื่นๆ รวมกับเงินสดที่มีอยู่ก่อนหน้านี้แล้วรวมมูลค่ารางวัลทั้งสิ้น 350,000 บาท ถ้าหากจับคู่ได้ลับเฉพาะคนรู้ใจและกุญแจหักอย่างละ 1 แผ่นป้าย จะได้รับแหวนเพชร และรถจักรยานยนต์ยามาฮ่า เฟรช รวมกับเงินสดที่มีอยู่ก่อนหน้านี้แล้วรวมมูลค่ารางวัลทั้งสิ้น 123,000 บาท แต่ถ้าหากจับคู่ได้กุญแจหักทั้งคู่จะไม่ได้รับรางวัลเพิ่มจากที่มีอยู่แล้วใดๆ ทั้งสิ้น
ใครคือพิธีกรรายการลับเฉพาะคนรู้ใจ
{ "answer": [ "ไตรภพ ลิมปพัทธ์" ], "answer_begin_position": [ 274 ], "answer_end_position": [ 289 ] }
3,610
74,867
ซุนนี ซุนนี () คือนิกายหนึ่งในศาสนาอิสลาม มีชื่อเต็มในภาษาอาหรับว่า อะฮ์ลุสซุนนะฮ์วะอัลญะมาอะฮ์ (, นิยมอ่านว่า อะฮ์ลุสซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์) เป็นนิกายที่ใหญ่ที่สุดในอิสลาม แบ่งเป็นสำนักหรือมัซฮับย่อย ๆ ออกเป็นหลายมัซฮับ แต่ปัจจุบันเหลือแค่เพียง 4 มัซฮับ นอกจากนี้ยังมีมัซฮับมุสลิมซุนนีที่ไม่ยึดถือมัซฮับ เรียกตนเองว่า พวกซะละฟีที่มาของคำ ที่มาของคำ. คำว่า ซุนนี มาจาก อัสซุนนะฮ์ (السنة) แปลว่า คำพูดและการกระทำหรือแบบอย่างของศาสดามุฮัมมัด (ศ) คำว่า "ญะมาอะฮ์" คือ การอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ผู้ที่บัญญัติศัพท์นี้ขึ้นมาคือ อะฮ์มัด บินฮันบัล (ฮ.ศ. 164-241 / ค.ศ. 780-855) คำว่า อัสซุนนะฮ์ เป็นคำที่นบีมุฮัมมัดมักจะใช้บ่อยครั้งในคำสั่งสอนของท่าน เช่น ในฮะดีษศอฮีฮ์ฟิกฮ์ที่บันทึกโดยอิมามอะฮ์มัด, อัตติรมีซี, อะบูดาวูด และอิบนุมาญะฮ์ ซึ่งท่านนบีได้กล่าวว่า “พวกท่านทั้งหลายจงยึดมั่นใน "แนวทางของฉัน" (سُنَّتِي) และแนวทางของผู้นำที่อยู่ในแนวทางอันเที่ยงธรรมของฉัน (อัลคุละฟาอ์อัรรอชิดูน) ที่จะมาหลังฉัน จงเคร่งครัดในการยึดมั่นบนแนวทางนั้น จงกัดมันด้วยฟันกราม (คืออย่าละทิ้งเป็นอันขาด) และจงหลีกให้พ้นจากอุตริกรรมในกิจการของศาสนา เพราะทุกอุตริกรรมในกิจการศาสนานั้นเป็นการหลงผิด” อะฮ์ลุสซุนนะฮ์ วะ อัลญะมาอะฮ์ (أَهْلُ السُّنَّةِ وَالْجَمَاعَةِ) ก็คือ ผู้ที่ยึดมั่นในซุนนะฮ์ (แนวทางของท่านนบีมุฮัมมัด) และยึดมั่นในสิ่งที่บรรดากลุ่มชนมุสลิมรุ่นแรกยึดมั่น (บุคคลเหล่านั้นคือบรรดาศ่อฮาบะหฟิกฮ์และบรรดาตาบิอีน) และพวกเขารวมตัวกัน (เป็นญะมาอะฮ์) บนพื้นฐานของซุนนะฮ์ ซึ่งชนกลุ่มนี้อัลลอฮ์ได้กล่าวถึงความประเสริฐของพวกเขาไว้ว่า บรรดาบรรพชนรุ่นแรกในหมู่ผู้อพยพ (ชาวมุฮาญิรีนจากนครมักกะฮ์) และในหมู่ผู้ให้ความช่วยเหลือ (ชาวอันศอรจากนครมะดีนะฮ์) และบรรดาผู้ดำเนินตามพวกเขาด้วยการทำดีนั้น อัลลอฮ์ทรงพอพระทัยในพวกเขา และพวกเขาก็พอใจในพระองค์ด้วย และพระองค์ทรงเตรียมไว้ให้พวกเขาแล้ว ซึ่งสวนสวรรค์อันหลากหลายที่มีแม่น้ำหลายสายไหลผ่านเบื้องล่าง พวกเขาจะพำนักอยู่ในนั้นตลอดกาล นั่นคือชัยชนะอันใหญ่หลวง (ซูเราะหฟิกฮ์อัตเตาบะหฟิกฮ์ : 100) ประวัติ ประวัติ. ในสมัยการปกครองของยะซีด บินมุอาวิยะหฟิกฮ์ คำสั่งสอนแห่งอัลกุรอานและแห่งศาสนทูตถูกละทิ้ง ชาวมะดีนะฮ์ผู้เคร่งครัดถูกได้รับความกดดันจากตระกูลอุมัยยะฮ์ผู้ปกครองอาณาจักรอิสลาม และภายใต้ความกดดันนั้นได้เกิดหล่อหลอมเป็นกลุ่มผู้ยึดมั่นในแนวทางอิสลามแบบเดิม เพื่อต่อต้านตระกูลอุมัยยะฮ์ โดยเฉพาะหลังจากที่กองทัพจากชาม ในสมัยการปกครองของยะซีด บินมุอาวิยะฮ์ฟิกฮ์ ได้สังหารฮุเซน หลานตาศาสนทูตมุฮัมมัด พร้อมกับญาติพี่น้อง ที่กัรบะลาอ์ 73 คนในปี ค.ศ. 680 และต่อมาในปี ค.ศ. 683 ยะซีดส่งกองทัพเพื่อโจมตีพระนครมะดีนะฮ์ที่อับดุลลอฮ์ บินอุมัร อิบนุลคอฏฏอบ เป็นผู้นำในการต่อต้านการปกครองของยะซีด และโจมตีมักกะฮ์ ที่อับดุลลอฮ์ อินนุซซุเบรสถาปนาตนเองเป็นเคาะลีฟะฮ์แห่งอาณาจักรอิสลาม ชาวเมืองมะดีนะฮ์ร่วมกันออกต้านทัพของยะซีด ที่นำโดยอุกบะหฟิกฮ์ ณ สถานที่ที่มืชื่อว่า อัลฮัรเราะฮ์ แต่ก็ต้องพ่ายแพ้ จนกองทัพของยะซีดสามารถเข้าปล้นสะดมเมืองมะดีนะฮ์ เป็นเวลาสามวันสามคืนตามคำสั่งของยะซีด ทหารชาม เข่นฆ่าผู้คน และข่มขืนสตรี จนกระทั่งมีผู้คนล้มตายประมาณ 10,000 คน ในจำนวนนั้นมีบุคคลสำคัญ 700 คน นอกจากนั้นมีผู้หญิงตั้งท้องเนื่องจากถูกข่มขืนชำเราอีก 500 คน หลังจากนั้นกองทัพชามก็มุ่งสู่มักกะฮ์เพื่อปราบปรามอิบนุซซุเบร โดยเข้าเผากะอ์บะฮ์ และเข่นฆ่าผู้คน ประชาชนชาวมุสลิมต่อต้านการปกครองตลอดมา แต่แล้วในปี ค.ศ. 692 อับดุลมะลิก บินมัรวานก็ส่ง ฮัจญาจญ์ บินยูสุฟ อัษษะกอฟี มาโจมตีมักกะฮ์อีกครั้ง ครั้งนี้อับดุลลอฮ์ อิบนุซซุเบร ถูกสังหารและศพถูกตรึงที่ไม้ ปักไว้หน้ากะอ์บะฮ์ ส่วนกะอ์บะฮ์ก็ถูกทำลาย ตั้งแต่นั้นมา ผู้คนในอาณาจักรอิสลามแบ่งออกเป็นหลายกลุ่มชนใหญ่ ๆ พวกที่ฝักใฝ่ทางโลกก็สนับสนุนการปกครองของตระกูลอุมัยยะฮ์ พวกที่ต่อต้านการปกครองระบอบเคาะลีฟะฮ์ ยึดถือบุตรหลานศาสนทูตเป็นผู้นำก็คือพวกชีอะฮ์ พวกที่เชื่อว่าบรรดาสาวกคือผู้นำและสานต่อสาส์นแห่งอิสลามหลังจากนบีมุฮัมมัด พวกนี้คือ อะฮ์ลุสซุนนะฮ์ ซึ่งในสมัยนั้นยังไม่ได้มีการบัญญัติศัพท์นี้ เพราะคำว่า ซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์ ถูกบัญญัติขึ้นมาจริง ๆ โดยอะฮ์มัด บินฮันบัล (ค.ศ. 780-855 / ฮ.ศ.164-241) นอกจากนี้ยังมีพวกคอวาริจญ์ ที่เป็นกบฏและแยกตัวออกจากอำนาจการปกครองของอิมามอะลี เมื่อครั้งที่เป็นเคาะลีฟะฮ์ที่ 4 ในฮิจญ์เราะหฟิกฮ์ศตวรรษที่ 3 และที่ 4 ได้มีการรวบรวมฮะดีษขึ้นมา จัดเป็นอนุกรมและหมวดหมู่ เรียกในภาษาไทยว่า พระวจนานุกรม ในสายอะฮ์ลุสซุนนะฮ์ มีมากกว่า 10 พระวจนานุกรม ที่สำคัญคือ 6 พระวจนานุกรม ที่ผู้รวบรวมโดยอัลบุคอรี, มุสลิม, อัตตัรมีซี, อะบูดาวูด, อิบนุมาญะฮ์ และอันนะซาอี นอกจากนี้ยังมีพระวจนานุกรมที่รวบรวมโดย มาลิก บินอะนัส (เจ้าสำนักมาลิกีย์) , อะฮหมัด บินฮันบัล (เจ้าสำนักฮันบะลีย์), อิบนุคุซัยมะฮ์, อิบนุฮิบบาน และอับดุรรอซซาก ในยุคหลังนี้ได้มีการตรวจสอบสายรายงานอย่างถี่ถ้วน พระวจนานุกรมอัลบุคอรีและมุสลิมได้รับการยอมรับมากที่สุดในสังคมมุสลิมซุนนีสำนักหรือทัศนะนิติศาสตร์อิสลาม สำนักหรือทัศนะนิติศาสตร์อิสลาม. ชะรีอะฮ์ (شريعة) หรือนิติบัญญัติอิสลามตามทัศนะของซุนนีนั้น มีพื้นฐานมาจากอัลกุรอานและซุนนะฮ์ (อิจย์มาอ์) มติฉันท์ของเหล่าผู้รู้ และกิยาส (การเปรียบเทียบกับบทบัญญัติที่มีอยู่แล้ว) นิกายซุนนีมีในอดีตมี 17 สำนัก แต่ได้สูญหายไปกับกาลเวลา ในปัจจุบันนิกายซุนนีมี 4 สำนัก ที่เป็นสำนักเกี่ยวกับฟิกฮ์ (นิติศาสตร์อิสลาม) ได้แก่1. ฮะนะฟี (ทัศนะของอะบูฮะนีฟะหฟิกฮ์ นุอฟิกฮ์มาน บินษาบิต) - 2. มาลีกี (ทัศนะของมาลิก บินอะนัส) 3. ชาฟีอี (ทัศนะของมุฮัมมัดมัด บินอิดริส อัชชาฟิอีย์) - ผู้ที่ยึดถือทัศนะนี้คือ คนส่วนใหญ่ในไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย 4. ฮันบะลี (ทัศนะของท่านอะฮ์มัด บินฮันบัล) ปัจจุบันมีอีกกลุ่มที่สำคัญคือ กลุ่มที่ไม่ได้ยึดถือหรือสังกัดตนอยู่ใน 4 กลุ่มข้างต้น แต่การวินิจฉัยหลักการศาสนาจะใช้วิธีศึกษาทัศนะของทั้ง 4 กลุ่มแล้ววิเคราะห์ดูว่าทัศนะใดที่มีน้ำหนักน่าเชื่อถือมากที่สุด โดยยึดอัลกุรอานและซุนนะฮฟิกฮ์เป็นธรรมนูญสำคัญในการวินิจฉัยเรื่องต่าง ๆ ในศาสนาสำนัก หรือ ทัศนะ เกี่ยวกับอุศูลุดดีน (ปรัชญาศาสนา) สำนัก หรือ ทัศนะ เกี่ยวกับอุศูลุดดีน (ปรัชญาศาสนา). นอกจากนี้ยังมีสำนักเกี่ยวกับอุศูลุดดีน (ปรัชญาศาสนา) อีกหลายสำนัก ที่สำคัญได้แก่ 4 สำนักคือ1. สำนักมุอ์ตะซิละฮ์ (معتزلة) จัดตั้งขึ้นโดยวาศิล บินอะฏออ์ (ค.ศ. 699-749) ศิษย์ที่มีความคิดแตกต่างจากฮะซัน อัลบัศรี (ค.ศ. 642-728) ผู้เป็นอาจารย์ 2. สำนักอัชอะรี มาจากแนวคิดของอะบุลฮะซัน อัลอัชชะรี (ค.ศ. 873-935) แต่ผู้ที่พัฒนาแนวคิดนี้ คือ อัลฆอซาลี นักวิชาการศาสนาและปรมาจารย์ศูฟีย์ 3. สำนักมาตุรีดี เป็นทัศนะของอะบูมันศูร อัลมาตุรีดี (มรณะ ค.ศ. 944) ในตอนแรกเป็นสำนักปรัชญาของชนกลุ่มน้อย ต่อมาเมื่อเป็นที่ยอมรับของเผ่พันธุ์เติร์ก และพวกออตโตมานมีอำนาจ ก็ได้ทำให้สำนักนี้แพร่หลายในเอเชียกลาง 4. สำนักอะษะรี เป็นทัศนะของอะฮ์มัด บินฮันบัล ผู้เป็นเจ้าสำนักฟิกฮ์ดังกล่าวมาแล้ว หากมุอฟิกฮ์ตะซิละหฟิกฮ์แยกตัวออกจากสำนักของฮะซัน อัลบัศรี ย่อมแสดงว่าก่อนหน้านั้นต้องมีสำนักปรัชญามาก่อนแล้ว ฮะซัน อัลบัศรี เองก็มีแนวคิดของตนเช่นกัน นั่นก็เพราะ ฮะซัน อัลบัศรี เป็นปรมาจารย์ของสำนักศูฟีที่ภายหลังแตกขยายเป็นหลายสาย
ซุนนีเป็นนิกายหนึ่งในศาสนาใด
{ "answer": [ "อิสลาม" ], "answer_begin_position": [ 113 ], "answer_end_position": [ 119 ] }
3,611
667,716
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 44 การแข่งขันกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 44 หรือ "นครสวรรค์เกมส์" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 11–21 ธันวาคม พ.ศ. 2558 โดยชิงชัยกัน 43 ชนิดกีฬา แต่ถูกยกเลิกพิธีเปิดซึ่งเดิมจะมีขึ้นในวันที่ 11 ธันวาคม เนื่องจากมีกิจกรรม Bike for dad ปั่นเพื่อพ่อ ทำให้ต้องเลื่อนพิธีเปิดมาวันที่ 12 ธันวาคมแทน จังหวัดนครสวรรค์ ได้รับความอนุเคราะห์จากเทศบาลนครนครสวรรค์ ผันงบประมาณที่ไม่ต้องใช้ในการป้องกันอุทกภัยของจังหวัดในรอบ 3 ปี ที่น้ำไม่ท่วมตลาดปากน้ำโพ มาใช้ซ่อมแซมปรับปรุงสนามกีฬาต่างๆ เพื่อรองรับการเป็นเจ้าภาพในครั้งนี้ เป็นเงินประมาณ 99,000,000 บาท สำหรับเรื่องที่พักนักกีฬา ผู้ฝึกสอน และผู้ที่เกี่ยวข้องกว่า 14,000 คน จังหวัดได้เตรียมประสานงานขอใช้ค่ายจิรประวัติ จังหวัดทหารบกนครสวรรค์ มณฑลทหารบกที่ 31 จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อใช้เป็นหมู่บ้านนักกีฬา ในบางชนิดกีฬา เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2557 นายมนตรี ไชยพันธุ์ รักษาการแทนผู้ว่าการกีฬาแห่งประเทศไทย เป็นประธานแถลงข่าวความพร้อมการแข่งขันกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 44 “นครสวรรค์เกมส์” พร้อมด้วย นายธงชัย ลืออดุลย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา และ นายระพี ผ่องบุพกิจ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์ ร่วมด้วย ดร.ภิญโญ นิโรจน์ นายกสมาคมกีฬาจังหวัดนครสวรรค์ พร้อมรองผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการ ที่ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมราชพฤกษ์ จังหวัดนครราชสีมาสัญลักษณ์การแข่งขัน สัญลักษณ์การแข่งขัน. ประกอบกันขึ้นเป็นภาพของคน นักกีฬาที่กำลังเคลื่อนไหวในทุกกีฬา ภาพสัญลักษณ์ ได้สื่อความหมาย แสดงใบหน้าของ “เอ็งกอพะบู๊” ซึ่งเป็นหนึ่งในตำนานของคนชาวไทยเชื้อสายจีนที่ยังมีการสืบต่อเรื่องราว ในงานประเพณีตรุษจีนของชาวปากน้ำโพ โดยเอ็งกอพะบู๊ จะเป็นตัวแทนของความความมีพลัง มีคุณธรรม มีความสามัคคีกันดุจพี่น้อง ดังเช่นการแข่งขันกีฬาแห่งชาติที่ปากน้ำโพในครั้งนี้ สำหรับสัญลักษณ์ในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติครั้งนี้ มีความหมาย ดังนี้- รูปทรงเส้นโค้งสีแดง หมายถึง พลังแห่งความสำเร็จ - วงกลมสีแดงอยู่ส่วนบนของภาพ หมายถึง การใช้ความรู้ความสามารถทางการกีฬา - รูปทรงวงกลมรอบภาพ สีเหลืองทอง หมายถึง เหรียญแห่งชัยชนะในการแข่งขันกีฬา - รูปทรงเส้นโค้งสีน้ำเงิน หมายถึง ความเข้มแข็งของการกีฬา - พื้นขาว หมายถึง ความมีน้ำใจในการแข่งขันสัญลักษณ์นำโชค สัญลักษณ์นำโชค. "เสี่ยวหลง" มาสคอตประจำการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 44 "นครสวรรค์เกมส์" เสี่ยวหลง (小龙 : xiaolong) เป็นมาสคอตประจำการแข่งขัน ความหมายคือ มังกรจีนหรือ หลง มังกรได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้สร้างกฎแห่งความใจบุญ และเป็นสิ่งที่เสริมสร้างความมั่นใจ แสดงถึงพลังอำนาจและคุณงามความดี ความองอาจกล้าหาญ ความเป็นวีรบุรุษและความอุตสาหะพยายาม ความมีคุณธรรมอันสูงส่งและยิ่งใหญ่ดุจดั่งเทพเจ้า มังกรจีนนั้นไม่ยอมแพ้ต่ออุปสรรคขวากหนามใด ๆ จนกว่าจะทำในสิ่งที่ต้องการได้สำเร็จ มีความขยันขันแข็ง เด็ดขาด เฉลียวฉลาด มองโลกในแง่ดี และมีความทะเยอทะยาน มีลักษณะสวยงาม เป็นมิตร และมีความเฉลียวฉลาดคำขวัญสนามที่ใช้ในการแข่งขันสนามที่ใช้ในการแข่งขัน. - หมายเหตุ : จักรยานบีเอ็มเอ็กซ์ ใช้สนามแข่งขันจังหวัดชัยนาทการแข่งขันชนิดกีฬาที่ใช้ในการแข่งขัน การแข่งขัน. ชนิดกีฬาที่ใช้ในการแข่งขัน. การแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 44 จัดแข่งขันทั้งสิ้น 43 ชนิดกีฬา ประกอบด้วย 42 กีฬาหลัก และ 1 กีฬาสาธิต ได้แก่- กรีฑา - กีฬาทางอากาศ - กอล์ฟ - กาบัดดี - คาราเต้ - จักรยาน - เซปักตะกร้อ - ซอฟท์เทนนิส - เทควันโด - เทนนิส - เทเบิลเทนนิส - เนตบอล - บาสเกตบอล - แบดมินตัน - ปันจักสีลัต - เอ็กซ์ตรีม - เปตอง - ฟุตบอล และฟุตซอล - ฟันดาบสากล - มวยไทย - มวยปล้ำ - มวยสากลสมัครเล่น - ยกน้ำหนัก - ยิงปืน - ยิมนาสติก - ยูโด - รักบี้ฟุตบอล - เรือพาย - ลีลาศ - วอลเลย์บอล - ว่ายน้ำ - ฟันดาบไทย - โบว์ลิ่ง - ยิงธนู - วู้ดบอล - บิลเลียดและสนุกเกอร์ - หมากล้อม - ฮอกกี้ - แฮนด์บอล - ชักเย่อ - ซอฟท์บอล - เพาะกาย - หมากรุกไทย (กีฬาสาธิต)จังหวัดที่เข้าร่วมการแข่งขันสรุปเหรียญรางวัล
การแข่งขันกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 44 ของไทยจัดขึ้นที่จังหวัดใด
{ "answer": [ "นครสวรรค์" ], "answer_begin_position": [ 164 ], "answer_end_position": [ 173 ] }
3,612
347,900
สุดเขต ประภากมล ร้อยตำรวจตรี สุดเขต ประภากมล (ชื่อเล่น: เต่า; เกิด: 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523) เป็นนักกีฬาแบดมินตันชายจากประเทศไทยได้เข้าร่วมการแข่งขันแบดมินตันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ประเภทชายคู่กับภัททพล เงินศรีสุข ตกรอบใน 32 คู่สุดท้าย โดยเจอกับคู่ของแอนโทนี คลาร์ก และนาธาน โรเบิร์ตสัน จากสหราชอาณาจักร นอกจากนี้ ยังได้ลงแข่งขันในประเภทคู่ผสมกับสราลีย์ ทุ่งทองคำ โดยชนะบายในรอบแรกแต่พ่ายให้แก่คู่ของเฟรดริก เบิร์กสเตริม และโจฮันนา เพียร์สสัน ในรอบ 16 ทีมสุดท้าย เขายังได้ลงแข่งขันในโทมัสคัพ 2008 คู่กับทรงพล อนุกฤตยาวรรณ แต่ไปพ่ายในรอบก่อนรองชนะเลิศเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2552 - จตุตถดิเรกคุณาภรณ์ (จ.ภ.)รางวัลที่ได้รับรางวัลที่ได้รับ. - พ.ศ. 2555 รางวัลนักกีฬาดีเด่น สยามกีฬาอวอร์ดส์ ครั้งที่ 6
สุดเขต ประภากมล เป็นนักกีฬาประเภทใด
{ "answer": [ "แบดมินตัน" ], "answer_begin_position": [ 193 ], "answer_end_position": [ 202 ] }
3,613
678,974
นางงามจักรวาล 1979 นางงามจักรวาล 1979 () เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 28 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 ณ Perth Entertainment Centre, เพิร์ธ, ประเทศออสเตรเลีย ในปีนี้มีผู้เข้าประกวด 75 คน จากทั่วโลก โดยมี มาร์กาเรต การ์ดิเนอร์ นางงามจักรวาลปี 1978 เป็นผู้มอบมงกุฏให้กับ มาริทซา ซายาเลโร สาวงามวัย 18 ปีจากประเทศเวเนซูเอลา เป็นผู้ครองตำแหน่งนางงามจักรวาลประจำปีนี้ผลการประกวดลำดับที่คะแนนในรอบตัดสินคะแนนในรอบชุดว่ายน้ำ(รอบก่อนวันตัดสิน)ผลการประกวด. คะแนนในรอบชุดว่ายน้ำ(รอบก่อนวันตัดสิน). - 8.673 เวเนซุเอลา - 8.382 อังกฤษ - 8.218 แอฟริกาใต้ - 7.936 เบลีซ - 7.899 สวีเดน - 7.791 เวลส์ - 7.773 บราซิล - 7.600 อุรุกวัย - 7.591 สิงคโปร์ - 7.582 ออสเตรีย - 7.564 สกอตแลนด์ - 7.536 เยอรมนี - 7.491 ฮอลแลนด์ - 7.455 โปรตุเกส - 7.445 เบอร์มิวดา - 7.418 เรอูว์นียง - 7.418 สเปน - 7.409 เปรู - 7.400 สวิตเซอร์แลนด์- 7.373 สหรัฐอเมริกา - 7.173 ฝรั่งเศส - 7.141 ฮ่องกง - 7.127 ออสเตรเลีย - 7.127 เซนต์วินเซนต์ - 7.077 ฟินแลนด์ - 6.991 เดนมาร์ก - 6.945 โคลอมเบีย - 6.936 อาร์เจนตินา - 6.873 คอสตาริกา - 6.845 เม็กซิโก - 6.818 แคนาดา - 6.809 โบพูทัตสวานา - 6.800 ญี่ปุ่น - 6.736 สาธารณรัฐโดมินิกัน - 6.727 นิวซีแลนด์ - 6.718 ไอร์แลนด์ - 6.718 ศรีลังกา - 6.655 มอลตา- 6.636 นอร์เวย์ - 6.627 ชิลี - 6.563 ตรินิแดดและโตเบโก - 6.555 บาร์เบโดส - 6.545 อิสราเอล - 6.545 เปอร์โตริโก - 6.536 ฮอนดูรัส - 6.518 มาเลเซีย - 6.473 ซูรินาม - 6.439 เกาหลีใต้ - 6.427 ฟิลิปปินส์ - 6.409 กัวเตมาลา - 6.309 ตุรกี - 6.291 ไทย - 6.286 ปารากวัย - 6.209 เบลเยียม - 6.155 โบลิเวีย - 6.127 กรีซ - 6.118 ไอซ์แลนด์- 6.109 กวม - 6.091 เอลซัลวาดอร์ - 6.082 อินเดีย - 6.068 อิตาลี - 6.064 อารูบา - 5.982 บาฮามาส - 5.882 ตาฮิตี - 5.791 เอกวาดอร์ - 5.727 ปานามา - 5.727 หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกา - 5.641 หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา - 5.591 ทรานสไก - 5.582 แอนติกา - 5.582 ฟิจิ - 5.545 มอริเชียส - 5.364 หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน - 5.355 ปาปัวนิวกินีรางวัลพิเศษลำดับการประกาศชื่อ12 คนสุดท้ายลำดับการประกาศชื่อ. 12 คนสุดท้าย. 1. เวลส์ 2. เบอร์มิวดา 3. บราซิล 4. แอฟริกาใต้ 5. สหรัฐอเมริกา 6. เบลีซ 7. อาร์เจนตินา 8. อังกฤษ 9. เยอรมนี 10. สกอตแลนด์ 11. เวเนซุเอลา 12. สวีเดน5 คนสุดท้าย5 คนสุดท้าย. 1. เวเนซุเอลา 2. สวีเดน 3. เบอร์มิวดา 4. อังกฤษ 5. บราซิลคณะกรรมการ คณะกรรมการ. รายชื่อคณะกรรมการในวันตัดสิน ประกอบไปด้วย:- ไอตา บัททรอส - นักข่าว - ลานา แคนเทรลล์ - นักร้อง, นักแสดง - อีฟ คอร์นาสซิแอร์ - ศาสตราจารย์ทางด้านศิลปศาสตร์ - ดอน แกลโลเวย์ - นักแสดง - อาภัสรา หงสกุล - นางงามจักรวาล 1965 จากประเทศไทย - จูลีโอ อิเกลเซียส - นักร้อง, นักแต่งเพลง - โทนี มาร์ติน - นักร้อง, นักแสดง - โรบิน มัวร์ - นักเขียน - รอซซานา โพเดสตา - นักแสดง - แอนน์ มารี โพห์ทาโม - นางงามจักรวาล 1975 จากประเทศฟินแลนด์ - คอนแสตนซ์ ทาวเวอร์ส - นักแสดงผู้เข้าประกวด ผู้เข้าประกวด. ในปีนี้มีผู้เข้าประกวดทั้งหมด 75 คน ดังต่อไปนี้- – เอลซี เมย์นาร์ด - – เวอร์จีเนีย อัลวาเรซ - – ลูจีนา วิลเชส - – เคอร์รี ดันเดอร์เดล - – คาริน ซอร์น - – โลลิตา อัมบริสเตอร์ - – บาร์บารา แบรดชอว์ - – คริสติน เคลลิว - เบลีซ – ซารีตา อคอสตา - – จีนา สเวนสัน - – มาเรีน ลุยซา เรนดอน - โบพูทัตสวานา – อาลีนา เมเกตซี - – มาร์ธา ดา คอสตา - – เออร์ธา เฟอร์ดินานด์ - – ไฮดี ไควริง - – ซีซิเลีย เซอร์ราโน - – อนา มิเลนา พาร์รา เทอร์เบย์ - – คาร์ลา ฟาซิโอ - – โลเน จอร์เจนเซน - – อลิซาเบธ การ์เซีย - – มาร์กาเรตา พลาซา - – จูดิธ อีเวตต์ โลเปซ - – แคโรลีน ซีวอร์ด - – แทนยา ไวท์ไซด์ - – ไพวี อุอิตโต - – ซิลวี ปาเรรา - – แอนเดรีย ฮอนท์สชิค - – คาเทีย โควคิดูว - – มารี ครูซ - – มิเชล โดมิงเกวซ - – ยูนีซ บารัตซิงห์ - – จีนา มาเรีย เวดเนอร์ - – โอลีเวีย แชง - – ฮอลล์โดรา บยอร์ก ยอนส์ดอตตีร์ - – สวารูป ซัมปัต - – ลอร์เรนน์ โอ'คอนเนอร์ - – เวเรด โพลการ์ - – เอลวีรา พูกลิซี- – ยูริกะ คุโรดะ - – ซอ แจ-ฮวา - – ไอรีน หว่อง - – ไดแอน บอร์ก บาร์โตโล - – มารี อัลลาร์ด - – บลางกา มาเรีย ดิแอซ - – แอนเดรีย คาร์คี - – บาร์บารา ตอร์เรส - – อุนนี ออคแลนด์ - – ยาเฮล โดลานเด - – มอลลี มิสบุต - – แพทริเชีย ลอห์แมน - – แจกเกอรีน บราห์ม - – คริเซลดา ซีซิลิโอ - – มาร์ตา เดอ กูเวีย - – เทเรซา โลเปซ - – อิซาเบลล์ แจคมาร์ท - – เชอรีล ชาเดอร์ตัน - – จูน เดอ โนบรีกา - – ลอร์เรนน์ เดวิดสัน - – อีเลนน์ แทน - – เวโรนิกา วิลสัน - – กลอเรีย มาเรีย วาเลนเซียโน - – วิดยาฮารี วานิกาสุริยา - – เซอร์จีน ลิวอาเลน - – แอนเนตต์ เอคสตอร์ม - – เบอร์จิต คราห์ล - – ฟาเบียนน์ ตาปาเร - – วงเดือน เกิดพุ่ม - – ลินดิเว แบม - – มารี โนเอลล์ ดิแอซ - – ฟูซิน เดอร์มิแทน - – อลิซาเบธ บุสตี - – แมรี เทอรีส ฟรีเอล - – ลินดา ตอร์เรส - – มาริทซา ซายาเลโร - – เบเวอร์ลี ฮอบสันรายละเอียดของการประกวดรายละเอียดของการประกวด. - ได้รับตำแหน่งนางงามจักรวาลเป็นคนแรกของประเทศ- ประเทศที่ผ่านเข้ารอบในปีที่แล้วด้วย ได้แก่ , , และ - , , และ ผ่านเข้ารอบก่อนหน้านี้เมื่อปี 1977 - และ ผ่านเข้ารอบก่อนหน้านี้เมื่อปี 1976 - ผ่านเข้ารอบก่อนหน้านี้เมื่อปี 1975 - เบลีซ และ ผ่านเข้ารอบในการประกวดได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์- ผ่านเข้ารอบเป็นปีที่ 3 ติดต่อกัน - ได้ตำแหน่งรองอันดับ 4 เป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน- ชนะรางวัล นางงามมิตรภาพ เป็นครั้งที่สาม - ชนะรางวัล ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม เป็นครั้งแรก - ชนะรางวัล ขวัญใจช่างภาพ เป็นครั้งที่สี่- ในปีนี้ได้เกิดอุบัติเหตุหลังจากการประกาศผลนางงามจักรวาลคนใหม่แล้ว บรรดาเพื่อนนางงามต่างร่วมกันขึ้นมาแสดงความยินดีกับนางงามจักรวาลคนใหม่ รวมไปถึงช่างภาพที่รุมกันขึ้นมาบนเวทีเพื่อถ่ายภาพทำให้เวทีนั้นเกิดพังถล่มลง ส่งผลให้นางงามและช่างภาพบางส่วนได้ตกลงไปและบาดเจ็บ อย่างไรก็ตามเนื่องจากทางสถานีโทรทัศน์ได้จบการถ่ายทอดการประกวดไปแล้ว ทำให้อุบัติเหตุในครั้งนี้ไม่ได้ถูกออกอากาศออกไป
การประกวดนางงามจักรวาลปี 1979 จัดขึ้นที่ประเทศใด
{ "answer": [ "ออสเตรเลีย" ], "answer_begin_position": [ 262 ], "answer_end_position": [ 272 ] }
3,614
314,335
ธงชาติตูนีเซีย ธงชาติตูนิเซีย () มีลักษณะเป็นธงพื้นสีแดง ที่กลางธงเป็นรูปวงกลมสีขาว ภายในบรรจุรูปเดือนเสี้ยวสีแดงคร่อมดาวห้าแฉกสีแดงดวงหนึ่ง อัล-ฮุสเซนที่ 2 อิบน์ มาห์มุด เบย์แห่งตูนิส (Bey of Tunis) ได้ตัดสินพระทัยที่จะกำหนดธงชาติสำหรับดินแดนตูนิสขึ้นหลังสิ้นสุดการรบที่นาวาริโนในวันที่ 20 ตุลาคม ค.ศ. 1827 และได้รับการยอมรับเมื่อประมาณปี ค.ศ. 1831 หรือ ค.ศ. 1835 ธงดังกล่าวนี้ยังคงเป็นธงชาติของตูนีเซียสืบมาแม้ในยามที่ประเทศตกเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศส และได้รับการยืนยันในฐานะธงชาติของสาธารณรัฐตูนีเซียเมื่อมีการลงนามในรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1959 ทว่าแบบและสัดส่วนมาตรฐานของธงได้กำหนดอย่างชัดเจนในภายหลัง ตามกฎหมายธงซึ่งประกาศเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 1999 รูปดาวและเดือนเสี้ยวเป็นเครื่องหมายระลึกถึงธงของออตโตมาน และเป็นเครื่องบ่งชี้ทางประวัติศาสตร์ว่าตูนีเซียเคยเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออตโตมาน
ธงชาติตูนิเซียมีลักษณะเป็นธงพื้นสีอะไร
{ "answer": [ "แดง" ], "answer_begin_position": [ 142 ], "answer_end_position": [ 145 ] }
3,615
767,491
แคว้นนอร์ม็องดี นอร์ม็องดี (; นอร์มัน: ; มาจากคำภาษาฝรั่งเศสเก่าว่า รูปพหูพจน์ของ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำที่แปลว่า "คนจากทางเหนือ" ในภาษาแถบสแกนดิเนเวียหลายภาษา) เป็นหนึ่งในแคว้น 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส มีอาณาบริเวณสอดคล้องกับดัชชีนอร์ม็องดีในอดีต ในทางบริหาร แคว้นนอร์ม็องดีแบ่งออกเป็น 5 จังหวัด ได้แก่ กาลวาโดส, แซน-มารีตีม, ม็องช์, ออร์น และเออร์ ครอบคลุมเนื้อที่ 30,627 ตารางกิโลเมตร (11,825 ตารางไมล์) คิดเป็นประมาณร้อยละ 5 ของดินแดนฝรั่งเศสทั้งหมด จำนวนประชากรของแคว้น 3.3 ล้านคนคิดเป็นประมาณร้อยละ 5 ของประชากรฝรั่งเศสทั้งหมด ภูมิภาคนอร์ม็องดีตามประวัติศาสตร์ประกอบด้วยแคว้นนอร์ม็องดีในปัจจุบัน รวมกับพื้นที่เล็ก ๆ ซึ่งทุกวันนี้เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดมาแยนและจังหวัดซาร์ตในแคว้นเปอีเดอลาลัวร์ หมู่เกาะแชนเนล (ฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่เรียกว่า "หมู่เกาะอังกฤษ-นอร์ม็องดี") ในอดีตก็เป็นส่วนหนึ่งของนอร์ม็องดีเช่นกัน หมู่เกาะนี้มีเนื้อที่ 194 ตารางกิโลเมตร และประกอบด้วยเขตเจ้าพนักงานศาลสองแห่ง ได้แก่ เกิร์นซีย์และเจอร์ซีย์ ซึ่งเป็นเขตสังกัดราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร ชื่อนอร์ม็องดีมีที่มาจากการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ของชาวไวกิงหรือ "คนเหนือ" จากนอร์เวย์และเดนมาร์กตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 14 (คริสต์ศตวรรษที่ 9) ซึ่งได้รับการยืนยันโดยสนธิสัญญาในพุทธศตวรรษที่ 15 (คริสต์ศตวรรษที่ 10) ระหว่างพระเจ้าชาร์ลที่ 3 แห่งฝรั่งเศส กับรอลโลแห่งอาณาจักรเมอเรอ (ในนอร์เวย์ปัจจุบัน) หลังจากการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันในปี พ.ศ. 1609 (ค.ศ. 1066) นอร์ม็องดีและอังกฤษก็มีความเกี่ยวดองกันผ่านทางผู้ปกครองชาวนอร์มันและชาวแฟรงก์อยู่หนึ่งศตวรรษครึ่ง ระหว่างปี พ.ศ. 2499–2558 นอร์ม็องดีถูกแบ่งออกเป็น 2 แคว้นการปกครอง ได้แก่ บัส-นอร์ม็องดี (นอร์ม็องดีตอนล่าง) และโอต-นอร์ม็องดี (นอร์ม็องดีตอนบน) แคว้นทั้งสองถูกยุบรวมเป็นแคว้นเดียวเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559
นอร์ม็องดีเป็นหนึ่งในแคว้นของประเทศใดในทวีปยุโรป
{ "answer": [ "ฝรั่งเศส" ], "answer_begin_position": [ 284 ], "answer_end_position": [ 292 ] }
3,616
306,038
บิวตีแอนด์เดอะบีสต์ (เพลงดิสนีย์) "บิวตีแอนด์เดอะบีสต์" () คือบทเพลงที่ชนะเลิศรางวัลอะคาเดมีและเป็นเพลงนำของภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง โฉมงามกับเจ้าชายอสูร และเป็นซิงเกิลแรกของเซลีน ดิออนจากอัลบั้ม เซลีนดิออน ซึ่งฉบับการขับร้องในภาพยนตร์เป็นผลงานของแอนเจลา แลนส์บูรีและฉบับขับร้องใหม่ในรายชื่อเครดิตของตอนหลังในภาพยนตร์นั้นเป็นผลงานของเซลีน ดิออนและพีโบ ไบรสัน ซึ่งในฉบับของทั้งสองออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2534 ในสหรัฐอเมริกาและในปีถัดไปทั่วโลก บทเพลงบัลลาดนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างเบลลาและเจ้าชายอสูร เป็นผลงานการประพันธ์ของอลัน เม็นเค็นในส่วนของการเรียบเรียงดนตรีและโฮวาร์ด แอชแมนในส่วนของเนื้อเพลง ซึ่งเป็นหนึ่งในเพลงสุดท้ายของแอชแมนก่อนเขาตายด้วยโรคเอดส์ในปี พ.ศ. 2534
บทเพลงใดที่ชนะเลิศรางวัลอะคาเดมีและเป็นเพลงนำของภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง โฉมงามกับเจ้าชายอสูร
{ "answer": [ "บิวตีแอนด์เดอะบีสต์" ], "answer_begin_position": [ 143 ], "answer_end_position": [ 162 ] }
3,617
106,889
เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ ชื่อเล่น พลอย (15 กันยายน พ.ศ. 2525) เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย เป็นน้องสาวของดารัณ บุญยศักดิ์ อดีตนักแสดง มีผลงานที่สร้างชื่อเสียงจากละครเรื่อง ระบำดวงดาว ขุนศึก มาดามดัน สามีตีตรา และภาพยนตร์เรื่อง บุปผาราตรี รักแห่งสยาม ชั่วฟ้าดินสลาย สี่แพร่ง และคิดถึงวิทยาชีวิตในวัยเด็ก ชีวิตในวัยเด็ก. เฌอมาลย์เป็นบุตรสาวของพลเรือตรี สิริศักดิ์ บุญยศักดิ์ กับธัญดา นิลภิรมย์ (ชื่อเดิม: จิราภรณ์) มีพี่สาวร่วมบิดามารดาคือดารัณ บุญยศักดิ์ (ชื่อเดิม: สินิทธา) เฌอมาลย์จบการศึกษาระดับประถมศึกษาโรงเรียนเซนต์โยเซฟระยอง จังหวัดระยอง ต่อมาได้ศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนโยนออฟอาร์ค กรุงเทพมหานคร และมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ระดับปริญญาตรีคณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น จังหวัดตาก ในวัยเยาว์เธอเคยเปลี่ยนไปนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ครั้นจำเริญวัยขึ้นจึงหันไปนับถือศาสนาพุทธ ซึ่งช่วงต้นปี พ.ศ. 2555 เธอกล่าวถึงทัศนคติที่มีต่อศาสนาว่า "พลอยเป็นคนที่นับถือศาสนาพุทธ แต่นับถือศาสนาคริสต์ด้วยครึ่งหนึ่ง ซึ่งพลอยจะขอเชื่อในสิ่งที่พระพุทธเจ้าสอนเท่านั้น พลอยไม่เชื่อเรื่องดวง พลอยเป็นคนที่เชื่อในตัวเองมากกว่า..." แต่ภายในปี พ.ศ. 2555 นั้นเองเธอได้หันไปนับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์วงการบันเทิง วงการบันเทิง. เฌอมาลย์เริ่มเข้าวงการบันเทิงตั้งแต่อายุ 23 ในละครเรื่อง เงาราหู รับบทเป็นนางเอกวัยเด็ก ซึ่งเรื่องนี้ ดารัณ บุญยศักดิ์พี่สาวแท้ ๆ ของเธอแสดงเป็นนางเอกคู่กับพีท ทองเจือ และลงนามสัญญาเป็นนักแสดงช่องสามในปี พ.ศ. 2549 ในปี พ.ศ. 2550 เฌอมาลย์แสดงในภาพยนตร์เรื่อง รักแห่งสยาม ในบท จูน และ แตง ซึ่งจากบทบาทนี้ทำให้เธอได้รับรางวัลผู้แสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม จากหลายเวทีอย่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17, รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 16 และ สตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2007 ครั้งที่ 6 ในปี พ.ศ. 2551 เฌอมาลย์ได้เป็นส่วนหนึ่งของการแสดงภาพยนตร์สี่แพร่ง ในตอนเที่ยวบิน 224 ในบทพิม โดยได้รับรางวัลเฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 6 สาขานักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี ในปี พ.ศ. 2553 เฌอมาลย์แสดงในภาพยนตร์เรื่อง ชั่วฟ้าดินสลาย คู่กับ อนันดา เอเวอริ่งแฮม กำกับโดย หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล และในปีถัดมาก็แสดงในภาพยนตร์เรื่อง อุโมงค์ผาเมือง โดยแสดงคู่กับอนันดา และกำกับโดยหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพเช่นเดิม ในปี พ.ศ. 2557 เฌอมาลย์เป็นเมนเทอร์ 1 ใน 3 คนของรายการ เดอะเฟซไทยแลนด์ ซีซัน 1 ในปีเดียวกัน เธอยังได้รับบท กั้ง ในละครเรื่อง สามีตีตรา ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากในขณะนั้น และรับบท ครูแอน ในภาพยนตร์โรแมนติกเรื่อง คิดถึงวิทยา ในปี พ.ศ. 2560 เฌอมาลย์หมดสัญญาการเป็นนักแสดงกับสถานีโทรทัศน์วิทยุไทยทีวีสีช่องสาม ในวันที่ 17 พฤษภาคม เธอให้สัมภาษณ์ว่าตนเองนั้นจะเป็นนักแสดงอิสระอย่างถาวรชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. เฌอมาลย์ได้เปลี่ยนชื่อจริงเป็นไลลา บุญยศักดิ์ จากความประสงค์ของมารดา และเคยใช้ชื่อดังกล่าวในวงการพักหนึ่งแต่ไม่ชอบ ภายหลังจึงใช้ชื่อในการแสดงว่าเฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ ส่วนชื่อในบัตรประชาชนยังคงชื่อไลลา บุญยศักดิ์ตามเดิม เฌอมาลย์เคยคบหาณัฐเศรษฐ์ พูนทรัพย์มณี ต่อมาได้คบกับปกรณ์ ลัม นานถึง 4 ปี แล้วเลิกราในปี พ.ศ. 2550 ต่อมาได้คบหากับนาวิน เยาวพลกุล ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2554-2556 และต่อมาได้คบหากับจอห์น ชาวจีน-อิตาลี และเลิกคบหาในปี พ.ศ. 2559การวิพากษ์วิจารณ์ การวิพากษ์วิจารณ์. ในปี พ.ศ. 2555 เฌอมาลย์ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากจากกรณีการหนีภาษี หลังจากที่ใช้บัตรประชาชนของผู้อื่นมารับค่าตอบแทนเพื่อเลี่ยงการจ่ายภาษีในส่วนเกิน จากข่าวฉาวเกี่ยวกับการพูดโดยไม่คิดและการหนีภาษี สื่อมวลชนจึงตั้งฉายาให้กับเธอสำหรับปีนั้นว่า "ปากปลาร้าหน้าเป๊ะ" เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เฌอมาลย์ได้อัปโหลดภาพบนอินสตาแกรมส่วนตัวของเธอ โดยเป็นรูปนิ้วกลางจิ้มเข้าไปในเค้ก บรรยายรูปว่า "สุขสันต์วันเกิดขอผลบุญให้ตาสว่าง เลิกหูเบา เลิกพูดจาให้ร้ายผู้อื่น ขอให้มีความสุขกับชีวิตที่เหลืออยู่อย่างมีความสุขความเจริญไร้ความริษยาอิจฉา รักษาคำพูด โชคดีนะ" ทำให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากในสังคมออนไลน์ ต่อมาเธอได้ให้การสัมภาษณ์กับนักข่าวถึงเรื่องนี้ว่าเธอหมายถึงคุณยายข้างบ้าน ก่อนจะยอมรับโพสต์รูปดังกล่าวเพราะเสียใจที่คนที่เธอให้ความเคารพนั้นหูเบา แถมยังมาบอกกับคนที่เธอสนิทด้วยว่าให้ระวังเธอ เพราะเธอชอบแย่งแฟนของเพื่อนสนิท ในปี พ.ศ. 2557 สื่อมวลชนจำนวนหนึ่งรวมตัวไม่ทำข่าวเกี่ยวกับเธอ เนื่องจากเธอนั้นได้ดึงแขนนักข่าวบันเทิงรายหนึ่งระหว่างให้สัมภาษณ์ เพราะไม่พอใจกับคำถามที่ยุแยงให้เกิดความขัดแย้ง ทั้งยังยืนกรานว่าเธอไม่ใช่คนผิด และไม่ยอมขอโทษผลงานละครโทรทัศน์ละครโทรทัศน์ในฐานะนักแสดงอิสระภาพยนตร์เพลงผลงาน. เพลง. - ทะเลแห่งฝัน ร่วมกับ ดารัณ บุญยศักดิ์คอนเสิร์ตคอนเสิร์ต. - ซุปตาร์ ON STAGE 17TH POLYPLUS CONCERT (2555) - GTH DAY:PLAY IT FORWARD (2556)รายการรายการ. - The Face Thailand season 1- The Face Thailand season 4 All starsรางวัลรางวัล. - รางวัล "Thailand People Awards For International Film" จากงาน Thailand International Film Destination Festival 2014 (2557) - รางวัลดาราหญิงแห่งปี จากงาน Thailand Zocial Awards 2014 (2557) - รางวัลดาวเมขลา ครั้งที่ 2 สาขานางเอกสุดร้อนแรงแห่งปี (2557) - รางวัลนักแสดงนำหญิงยอดนิยม Popular Vote จากงาน รางวัลสยามดาราสตาร์อวอร์ด 2014- 1 ใน 5 ผู้แสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง คิดถึงวิทยา จากงาน รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่24 - 1 ใน 5 รางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากละคร สามีตีตรา จากงาน รางวัลสยามดาราสตาร์อวอร์ด 2014 - เข้าชิงรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 29 สาขาดารานำหญิงดีเด่น จากละคร สามีตีตรา - 1 ใน 5 รางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากละคร สามีตีตรา จากงาน คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 12 - 1 ใน 5 รางวัลนักแสดงหญิงยอดนิยม จากละคร สามีตีตรา จากงาน คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 12
เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ เลิกกับโดม ปกรณ์ ลัม เมื่อปี พ.ศ. ใด
{ "answer": [ "2550" ], "answer_begin_position": [ 2906 ], "answer_end_position": [ 2910 ] }
3,618
133,404
ต้อหิน ต้อหิน () เป็นโรคที่ดวงตามองไม่เห็น เกิดจากการคั่งของน้ำภายในตา จึงทำให้ความดันตาสูงขึ้นและกดทำลายประสาทตาทีละน้อย โดยที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกเจ็บปวด พบมากในผู้สูงอายุ โดยปกติคนวัย 65 ปีขึ้นไป จะเกิดโรคต้อหินได้ประมาณ 1 ในทุก 20 คน โรคต้อหินเป็นสาเหตุตาบอดอันดับที่สองของโลก โรคต้อหินพบทั่วโลกถึง 70 ล้านคน และประมาณ 10% ของผู้ป่วยหรือประมาณ 6.7 ล้านคน ต้องตาบอด หรือสูญเสียการมองเห็นอย่างสิ้นเชิง ในประเทศไทยมีผู้ป่วยประมาณ 2.5-3.8% หรือคิดเป็นจำนวนผู้ป่วยประมาณ 1.7-2.4 ล้านคน เมื่อไปตรวจตาถ้าความดันลูกตาเกิน 20.0 มิลลิเมตรปรอท มีความเป็นไปได้ที่จะเป็นต้อหิน
ต้อหินเป็นโรคที่เกิดขึ้นกับอวัยวะใดในร่างกาย
{ "answer": [ "ดวงตา" ], "answer_begin_position": [ 108 ], "answer_end_position": [ 113 ] }
3,619
488,628
ถวัลย์ วงศ์เทเวศร์ ถวัลย์ วงศ์เทเวศร์ หรือนายนิด พุ่มไสว เกิดเมื่อ พ.ศ. 2461 ที่กรุงเทพฯ เป็นนักมวยที่มีชื่อเสียงด้านความทรหดอดทน จนได้ฉายาว่ากำแพงเมืองจีนประวัติ ประวัติ. ถวัลย์เป็นนักมวยไทยที่โด่งดังสมัยเวทีหลักเมืองและเวทีสวนเจ้าเชตุ เคยชกกับนักมวยดังในยุคนั้นมาแล้วหลายคน เช่น สุข ปราสาทหินพิมาย ผล พระประแดง ประเสริฐ ส.ส. ประยุทธ อุดมศักดิ์ จนเมื่อตั้งเวทีราชดำเนินขึ้น ถวัลย์ก็ได้ชกทั้งมวยไทยและมวยสากล เมื่อวีนที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2489 ถวัลย์ได้ขึ้นชกมวยสากลกับแดนนี่ บอย นักมวยสากลชาวอังกฤษ ซึ่งถวัลย์เป็นฝ่ายชนะน็อคในยกที่ 4 จากนั้นชกมวยไทยแพ้ประเสริฐ ส.ส. และชนะน็อคถวิล เทียมกำแหง ยก 4 จนกระทั่งในเดือนเมษายน พ.ศ. 2490 จึงขึ้นชกมวยไทยกับสุข ปราสาทหินพิมาย การชกเป็นไปอย่างดุเดือด ก่อนที่ถวัลย์จะเป็นฝ่ายแพ้คะแนนไป หลังจากนั้น ถวัลย์ขึ้นชกมวยสากลชนะน็อค จิมมี่ เบิร์ด ยก 3 แล้วชกแก้มือกับสุขอีกครั้ง แต่เป็นฝ่ายแพ้คะแนนไปอีก หลังจากชกแพ้สุขในครั้งนั้น ถวัลย์หยุดชกมวย ไปอุปสมบทเป็นพระภิกษุอยู่ช่วงหนึ่ง หลังจากลาสิกขาแล้วก็ขึ้นชกมวยสากลกับสมพงษ์ เวชสิทธิ์ การชกเป็นไปอย่างสูสี ก่อนที่ครบยกแล้วถวัลย์เป็นฝ่ายแพ้คะแนนไป หลังจากการชกครั้งนี้ การชกของถวัลย์เริ่มแย่ลง ชกแพ้บ่อยครั้ง ไปชกมวยสากลที่สิงคโปร์ก็แพ้น็อค เฟรซซี่ เซบาสเตียน กลับมาชกมวยสากลในไทยก็แพ้คะแนนประเสริฐ ส.ส. และเมื่อสมเดช ยนตรกิจขึ้นชกมวยสากลเป็นครั้งแรก ก็เลือกชกกับถวัลย์ และเป็นฝ่ายชนะน็อคถวัลย์แค่ยก 2 ถวัลย์ขึ้นชกมวยสากลครั้งสุดท้ายเมื่อ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2494 ในแบบมวยไทย โดยเป็นฝ่ายแพ้น็อคประยุทธ อุดมศักดิ์ ยก 5 หลังจากนั้น ถวัลย์หันมาเป็นเทรนเนอร์ให้กับค่ายวงศ์เทเวศร์ จนค่ายปิดตัวไป จึงไปทำงานที่โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง จนเสียชีวิตด้วยโรคฝีในตับเมื่อ 11 มกราคม พ.ศ. 2519 รวมอายุได้ 58 ปี
นักมวยชาวไทย ถวัลย์ วงศ์เทเวศร์ มีฉายาว่าอะไร
{ "answer": [ "กำแพงเมืองจีน" ], "answer_begin_position": [ 235 ], "answer_end_position": [ 248 ] }
3,620
749
ปรีดี พนมยงค์ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และเป็นผู้ให้กำเนิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทย เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย 3 สมัย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่าง ๆ อีกหลายสมัย เป็นผู้ก่อตั้งและผู้ประศาสน์การเพียงคนเดียวของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง และเป็นผู้ก่อตั้งธนาคารชาติไทย (ปัจจุบัน คือ ธนาคารแห่งประเทศไทย) ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ปรีดีเป็นผู้นำขบวนการเสรีไทยต่อต้านกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น ทำให้ประเทศไทยรอดพ้นจากการเป็นผู้แพ้สงคราม นอกจากนี้เขายังได้รับแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในรัชกาลที่ 8 และได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกย่องในฐานะ "รัฐบุรุษอาวุโส" ปรีดีต้องยุติบทบาททางการเมืองหลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล โดยถูกกล่าวหาจากพรรคการเมืองฝ่ายตรงข้ามว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ดังกล่าว ต่อมาเกิดการรัฐประหาร พ.ศ. 2490 เป็นเหตุให้เขาต้องลี้ภัยการเมืองไปยังประเทศจีนและฝรั่งเศสรวมระยะเวลากว่า 30 ปี และไม่ได้กลับสู่ประเทศไทยอีกเลยจนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ระหว่างที่ลี้ภัยอยู่ต่างประเทศ ปรีดีได้ฟ้องร้องผู้ใส่ความหมิ่นประมาทต่อศาลยุติธรรม ผลปรากฏว่าศาลตัดสินให้ชนะทุกคดี และยังได้รับความรับรองจากทางราชการตลอดจนเงินบำนาญและหนังสือเดินทางของไทย ใน พ.ศ. 2542 ที่ประชุมสมัยสามัญครั้งที่ 30 ขององค์การยูเนสโก ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ได้มีมติประกาศให้ปรีดี พนมยงค์ เป็น "บุคคลสำคัญของโลก" และได้ร่วมเฉลิมฉลองในวาระครบรอบ 100 ปี ชาตกาลของเขา ระหว่าง พ.ศ. 2543–พ.ศ. 2544 นอกจากนี้นิตยสารเอเชียวีกยังได้เสนอชื่อของเขาเข้าชิงตำแหน่ง "Asian Of The Century" อีกด้วยประวัติ ประวัติ. ปรีดี พนมยงค์ เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 ณ เรือนแพหน้าวัดพนมยงค์ ตำบลท่าวาสุกรี อำเภอกรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในครอบครัวชาวนาไทย เป็นบุตรคนที่ 2 จากจำนวนพี่น้อง 6 คน ของนายเสียง และนางลูกจันทน์ พนมยงค์ บรรพบุรุษของปรีดีตั้งถิ่นฐานอยู่ใกล้วัดพนมยงค์มาเป็นเวลาช้านาน โดยที่บรรพบุรุษข้างบิดานั้นสืบเชื้อสายมาจากพระนมในสมัยอาณาจักรอยุธยา ชื่อ "ประยงค์" พระนมประยงค์เป็นผู้สร้างวัดในที่สวนของตัวเอง โดยตั้งชื่อวัดตามผู้สร้างว่า วัดพระนมยงค์ หรือ วัดพนมยงค์ กาลเวลาล่วงเลยมาจนเมื่อมีการประกาศพระราชบัญญัติขนานนามสกุล พ.ศ. 2456 ทายาทจึงได้ใช้นามสกุลว่า "พนมยงค์" และได้อุปถัมภ์วัดนี้เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน บรรพบุรุษรุ่นปู่-ย่าของปรีดีประกอบกิจการค้าขายมีฐานะเป็นคหบดีใหญ่ แต่นายเสียงบิดาของปรีดีเป็นคนชอบชีวิตอิสระไม่ชอบประกอบอาชีพค้าขายเจริญรอยตามบรรพบุรุษ จึงหันไปยึดอาชีพกสิกรรม เริ่มต้นด้วยการทำป่าไม้ และต่อมาได้ไปบุกเบิกถางพงร้างเพื่อจับจองที่ทำนาบริเวณทุ่งหลวง อำเภอวังน้อย แต่ก็ต้องประสบกับปัญหาภัยธรรมชาติ โขลงช้างป่า และแมลงที่มารบกวนทำลายต้นข้าวทำให้ผลผลิตออกมาไม่ดี ไม่สามารถขายข้าวได้ ซ้ำร้ายรัฐบาลได้ให้สัมปทานบริษัทขุดคลองแห่งหนึ่งขุดคลองผ่านที่ดินของนายเสียงและยังเรียกเก็บค่าขุดคลอง (ดูประวัติคลองรังสิต) ซึ่งบิดาของปรีดีต้องกู้เงินมาจ่ายเป็นค่ากรอกนาในอัตราไร่ละ 4 บาท แลกกับการได้ครอบครองที่ดินที่จับจองไว้จำนวน 200 ไร่ ทำให้ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวย่ำแย่ลงไปอีก ต้องอดทนเป็นหนี้สินอยู่หลายปี เหตุการณ์ครั้งนั้นยังทำให้ราษฎรผู้บุกเบิกจับจองที่ดินมาก่อนต้องสูญเสียที่ดินไปเป็นจำนวนมากและกลายเป็นชาวนาผู้เช่าที่ในที่สุด จากการเติบโตในครอบครัวชาวนานี้เอง ปรีดีจึงได้สัมผัสรับรู้เป็นอย่างดีถึงสภาพความเป็นอยู่และความทุกข์ยากของชนชั้นชาวนาทั้งหลายที่ฝากชีวิตไว้กับความไม่แน่นอนของดินฟ้าอากาศ ราคาพืชผลในตลาด และดอกเบี้ยของนายทุน นอกจากนี้ยังต้องพบกับการถูกเอารัดเอาเปรียบจากเจ้าที่ดินศักดินาที่กระทำผ่านการเก็บภาษีและการถือครองกรรมสิทธิ์ที่ดิน ประสบการณ์เหล่านี้เป็นแรงกระตุ้นให้ปรีดีคิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศในเวลาต่อมา ปรีดีเมื่อครั้งเยาว์วัยเป็นเด็กหัวดี ช่างคิด ช่างสังเกตวิเคราะห์ และเริ่มมีความสนใจทางการเมืองมาตั้งแต่อายุเพียง 11 ปี จากเหตุการณ์ปฏิวัติในประเทศจีนที่นำโดย ซุน ยัตเซ็น และเหตุการณ์กบฏ ร.ศ. 130 ในสยาม ซึ่งปรีดีได้แสดงความเห็นอกเห็นใจอย่างมากต่อผู้ที่ถูกลงโทษในครั้งนั้น ถึงแม้ว่าปรีดีจะเกิดในครอบครัวชาวนา แต่บิดาของเขาก็เป็นผู้ใฝ่รู้และเล็งเห็นประโยชน์ของการศึกษา จึงสนับสนุนให้บุตรได้รับการศึกษาที่ดีมาโดยตลอด เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ซึ่งเป็นญาติผู้ใหญ่ฝ่ายภรรยาปรีดี ได้เคยกล่าวถึงนายเสียง พนมยงค์ ว่าการศึกษา การศึกษา. ปรีดีเริ่มเรียนหนังสือที่บ้านครูแสง ตำบลท่าวาสุกรี และสำเร็จการศึกษาในระดับประถมที่โรงเรียนวัดศาลาปูน อำเภอกรุงเก่า จากนั้นไปศึกษาชั้นมัธยมเตรียมที่โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร แล้วย้ายไปศึกษาต่อที่โรงเรียนตัวอย่างประจำมณฑลกรุงเก่า (ปัจจุบันคือ โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย) จนสอบไล่ได้ชั้นมัธยม 6 ซึ่งเป็นชั้นสูงสุดสำหรับหัวเมือง แล้วไปศึกษาต่อที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ใน พ.ศ. 2460 เข้าศึกษาที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม และศึกษาภาษาฝรั่งเศสที่เนติบัณฑิตยสภา กับอาจารย์เลเดแกร์ (E.Ladeker) ที่ปรึกษาศาลต่างประเทศกระทรวงยุติธรรม ต่อมาสอบไล่วิชากฎหมายชั้นเนติบัณฑิตได้ในขณะมีอายุ 19 ปี แต่ตามข้อบังคับสมัยนั้นยังเป็นเนติบัณฑิตไม่ได้เพราะอายุยังไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์ ต้องรอจนอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์จึงได้เป็นสมาชิกสามัญแห่งเนติบัณฑิตยสภา ต่อมาได้รับการคัดเลือกจากกระทรวงยุติธรรมให้ทุนไปศึกษาต่อที่ประเทศฝรั่งเศส ใน พ.ศ. 2463 โดยเข้าศึกษาวิชากฎหมายที่มหาวิทยาลัยกอง (Université de Caen) จนสอบไล่ได้ปริญญารัฐเป็น "บาเชอลิเอร์" กฎหมาย (bachelier en droit) และได้ปริญญารัฐเป็น "ลิซองซิเอ" กฎหมาย (Licencié en Droit) ตามลำดับ ปรีดีสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกสาขานิติศาสตร์ จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยปารีส พ.ศ. 2469 ด้วยคะแนนเกียรตินิยมดีมาก (trés bien) นับเป็นคนไทยคนแรกที่ได้ปริญญาเอกแห่งรัฐ (doctorat d'état) เป็น "ดุษฎีบัณฑิตกฎหมาย" (docteur en droit) ฝ่ายนิติศาสตร์ (sciences juridiques) นอกจากนี้เขายังสอบไล่ได้ประกาศนียบัตรการศึกษาชั้นสูงในสาขาเศรษฐศาสตร์การเมือง (diplôme d'études supérieures d'économie politique) อีกด้วยการสมรสและครอบครัว การสมรสและครอบครัว. ปรีดีสมรสกับ พูนศุข ณ ป้อมเพชร์ ธิดา มหาอำมาตย์ตรี พระยาชัยวิชิตวิศิษฎ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร) กับ คุณหญิงเพ็ง ชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (สุวรรณศร) เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 มีบุตร-ธิดาด้วยกันทั้งหมด 6 คน คือ1. นางสาวลลิตา พนมยงค์ (ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) 2. นายปาล พนมยงค์ สมรสกับ นางเลิศศรี พนมยงค์ (จตุรพฤกษ์) 3. นางสาวสุดา พนมยงค์ 4. นายศุขปรีดา พนมยงค์ สมรสกับ นางจีรวรรณ พนมยงค์ (วรดิลก) 5. นางดุษฎี พนมยงค์ บุญทัศนกุล สมรสกับ นายชาญ บุญทัศนกุล 6. นางวาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ สมรสกับ นายสุรพันธ์ สายประดิษฐ์หน้าที่การงานก่อนเข้าสู่การเมือง หน้าที่การงานก่อนเข้าสู่การเมือง. เมื่อกลับถึงกรุงเทพมหานครใน พ.ศ. 2470 ปรีดีเริ่มทำงานในตำแหน่งผู้พิพากษาประจำกระทรวงยุติธรรม ต่อมาได้เลื่อนตำแหน่งเป็นผู้ช่วยเลขานุการกรมร่างกฎหมาย (ปัจจุบันคือสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา) และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น "หลวงประดิษฐ์มนูธรรม" เมื่อ พ.ศ. 2471 ขณะมีอายุ 28 ปี ต่อมาใน พ.ศ. 2475 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการกรมร่างกฎหมาย (ต่อมาได้ลาออกจากบรรดาศักดิ์พร้อมกับคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 ใน พ.ศ. 2485 และกลับไปใช้ชื่อเดิมคือ นายปรีดี พนมยงค์) ในช่วงที่รับราชการในกระทรวงยุติธรรมนี้ ปรีดีได้รวบรวมกฎหมายไทยตั้งแต่แรกจนถึงปัจจุบันซึ่งอยู่ในสภาพกระจัดกระจายให้มารวมเป็นเล่มเดียว ใช้ชื่อว่า “ประชุมกฎหมายไทย” และได้รับการตีพิมพ์ใน พ.ศ. 2473 ที่โรงพิมพ์นิติสาสน์ซึ่งเป็นกิจการส่วนตัวของเขาเอง หนังสือเล่มนี้ได้รับความนิยมและสร้างรายได้ให้แก่ปรีดีเป็นอย่างมาก นอกจากงานที่กรมร่างกฎหมายแล้ว ปรีดียังเป็นอาจารย์ผู้สอนที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม ในชั้นแรกได้สอนวิชากฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ว่าด้วยลักษณะหุ้นส่วน บริษัทและสมาคม ต่อมาได้สอนวิชากฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล ลูกศิษย์ของเขาในช่วงดังกล่าวนี้ได้แก่ สัญญา ธรรมศักดิ์ จิตติ ติงศภัทิย์ ดิเรก ชัยนาม เสริม วินิจฉัยกุล เสวต เปี่ยมพงศ์สานต์ ไพโรจน์ ชัยนาม จินดา ชัยรัตน์ โชติ สุวรรณโพธิ์ศรี และศิริ สันตะบุตร ใน พ.ศ. 2474 ปรีดีเป็นคนแรกที่เริ่มสอนวิชากฎหมายปกครอง (Droit Administratif) กล่าวกันว่าวิชากฎหมายปกครองนี้ เป็นวิชาที่สร้างชื่อเสียงแก่ปรีดีเป็นอย่างมาก เพราะสาระของวิชานี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชากฎหมายมหาชน ซึ่งอธิบายถึงหลักการแบ่งแยกอำนาจอธิปไตยอันเป็นหัวใจของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ในขณะที่ประเทศไทยยังคงปกครองอยู่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในขณะเดียวกัน ก็ได้อาศัยการสอนที่โรงเรียนดังกล่าว ปลุกจิตสำนึกนักศึกษาให้สนใจเป็นขั้น ๆ ถึงความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนระบบการปกครองจากระบบเดิมให้เป็นระบบราชาธิปไตยภายใต้ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินประชาธิปไตย นอกจากนี้ยังได้เปิดอบรมทบทวนวิชากฎหมายที่บ้านถนนสีลมเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์กับนักศึกษาให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น จึงมีลูกศิษย์ลูกหาเข้าร่วมเป็นสมาชิกและผู้สนับสนุนคณะราษฎรในเวลาต่อมาหลายคนบทบาททางการเมืองก่อนสงครามโลกครั้งที่สองการเปลี่ยนแปลงการปกครอง บทบาททางการเมืองก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง. การเปลี่ยนแปลงการปกครอง. ในขณะที่อยู่ในประเทศฝรั่งเศส ปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมกับเพื่อนอีก 6 คน ประชุมอย่างเป็นทางการครั้งแรกเพื่อก่อตั้ง "คณะราษฎร" เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 ณ หอพักแห่งหนึ่งย่าน "Rue Du Sommerard" กรุงปารีส ผู้ร่วมประชุมประกอบด้วย ร.ท.ประยูร ภมรมนตรี, ร.ท.แปลก ขิตตะสังคะ, ร.ต.ทัศนัย มิตรภักดี, ภก.ตั้ว ลพานุกรม, หลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี), นายแนบ พหลโยธิน โดยมีวัตถุประสงค์คือ เปลี่ยนการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และการดำเนินเพื่อให้สยามบรรลุหลัก 6 ประการ คือ1. จะต้องรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย เช่น เอกราชในทางการเมือง ในทางศาล ในทางเศรษฐกิจ ฯลฯ ของประเทศไว้ให้มั่นคง 2. จะรักษาความปลอดภัยในประเทศ ให้การประทุษร้ายต่อกันลดน้อยลงให้มาก 3. จะต้องบำรุงความสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะจัดหางานให้ราษฎรทำ จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก 4. จะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน ไม่ใช่ให้พวกเจ้ามีสิทธิยิ่งกว่าราษฎรเช่นที่เป็นอยู่ 5. จะต้องให้ราษฎรได้มีเสรีภาพ มีความเป็นอิสระ เมื่อเสรีภาพนี้ไม่ขัดต่อหลัก 4 ประการดังกล่าวข้างต้น 6. จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ปรีดีร่วมกับสมาชิกคณะราษฎรที่ประกอบด้วยกลุ่มทหารบก ทหารเรือ และพลเรือน ยึดอำนาจการปกครองประเทศจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองได้สำเร็จโดยไม่มีการเสียเลือดเนื้อ หลังจากนั้นคณะราษฎรโดยปรีดี พนมยงค์ ได้จัดให้มีการประชุมระหว่างคณะราษฎร และเสนาบดี ปลัดทูลฉลอง ขึ้น ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เพื่อชี้แจงจุดประสงค์ หลักการระบอบใหม่ กฎหมายพระธรรมนูญการปกครองแผ่นดินโดยย่อ และขอความร่วมมือในการบริหารราชการแผ่นดินต่อไปการวางรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย การวางรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย. ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปรีดี พนมยงค์ ถือเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดวางรูปแบบการปกครองในระบอบใหม่ เป็นผู้ให้กำเนิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศ โดยเป็นผู้ร่างพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ที่ประกาศใช้เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 พร้อมกันนั้นยังมีบทบาทสำคัญในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 อันเป็นรัฐธรรมนูญถาวรฉบับแรกของสยาม ที่ใช้เป็นบรรทัดฐานของการปกครองในระบอบใหม่ ในขณะเดียวกัน ปรีดีก็ได้รับแต่งตั้งจากสภาผู้แทนราษฎรให้เป็นเลขาธิการคนแรกของสภาผู้แทนราษฎรสยาม ด้วยตำแหน่งดังกล่าว ทำให้เขามีบทบาทด้านนิติบัญญัติในการวางหลักสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคให้แก่ราษฎร โดยเป็นผู้ยกร่างพระราชบัญญัติการเลือกตั้งฉบับแรก และเป็นผู้ริเริ่มให้สตรีมีสิทธิ์ในการออกเสียงเลือกตั้งและสมัครรับเลือกตั้งผู้แทนราษฎรได้เช่นเดียวกับเพศชาย และจากการที่ได้ไปศึกษาในประเทศฝรั่งเศส ปรีดีจึงสนับสนุนแนวคิดเรื่องศาลปกครอง และก็เป็นผู้นำเอาวิชา "กฎหมายปกครอง" (droit administratif) มาสอนเป็นคนแรก ณ โรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม แนวคิดดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความต้องการให้ราษฎรสามารถตรวจสอบฝ่ายปกครองได้ และมีสิทธิในทางการเมืองเท่าเทียมกับข้าราชการอย่างแท้จริง เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้วเขาจึงผลักดันให้รัฐบาลยกฐานะกรมร่างกฎหมายและสถาปนาขึ้นเป็น "คณะกรรมการกฤษฎีกา" ทำหน้าที่ยกร่างกฎหมายและเป็นที่ปรึกษากฎหมายของแผ่นดิน ทั้งยังพยายามผลักดันให้คณะกรรมการกฤษฎีกาทำหน้าที่ศาลปกครองอีกด้วย แต่ก็ทำไม่สำเร็จ เนื่องจากวัฒนธรรมในทางอำนาจนิยมของรัฐไทยยังมีอยู่หนาแน่น ความพยายามในการตั้งศาลปกครองของปรีดีจึงประสบอุปสรรคมาโดยตลอด ใน พ.ศ. 2476 ได้เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจ หรือที่เรียกกันว่า "สมุดปกเหลือง" ต่อรัฐบาลเพื่อใช้เป็นนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ ตามหลัก 6 ประการของคณะราษฎร โดยดำเนินเศรษฐกิจแบบสหกรณ์ แต่ไม่ทำลายกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของเอกชน ซึ่งเขาได้ชี้แจงไว้ว่า ปรีดียังได้วางหลักการประกันสังคม คือ ให้การประกันแก่ราษฎรทั้งหลายตั้งแต่เกิดจนตาย ที่จะได้รับความอุปการะจากรัฐบาล หากไม่สามารถทำงานได้ ซึ่งระบุไว้อย่างชัดเจนในหมวดที่ 3 แห่งเค้าโครงการเศรษฐกิจ ในชื่อร่าง "พระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร" แต่แนวความคิดดังกล่าวถูกมองว่าเป็นคอมมิวนิสต์ และถูกคัดค้านอย่างหนักจากกลุ่มอนุรักษนิยมการกระจายอำนาจการปกครอง การกระจายอำนาจการปกครอง. ปรีดีเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการร่างพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 เพื่อให้รูปแบบและระเบียบการบริหารราชการแผ่นดินดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และมีการกระจายอำนาจการปกครองสู่ท้องถิ่น เมื่อเข้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2476–พ.ศ. 2478) ก็ได้ริเริ่มให้มีการจัดตั้ง "เทศบาล" ทั่วราชอาณาจักรสยาม ตาม พระราชบัญญัติเทศบาล โดยมุ่งหวังให้การปกครองทัองถิ่นเป็นรากฐานสำคัญของระบอบประชาธิปไตย และได้กวดขันให้มีการเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านและกำนันตาม พระราชบัญญัติปกครองท้องที่ และจัดตั้งกรมโยธาเทศบาลเพื่อสอดคล้องกับการปกครองเทศบาลและสร้างทางท้องที่หลายจังหวัด นอกจากนี้เขายังได้สร้างโรงพยาบาลหลายแห่ง รวมทั้งจัดให้มีเรือพยาบาลตามลำน้ำโขงโดยใช้สลากกินแบ่งของท้องที่ สร้างฝายและพนังหลายแห่งเพื่อช่วยชาวนาและเกษตรกร สร้างทัณฑนิคมเพื่อให้ผู้พ้นโทษแล้วมีที่ดินของตน ฯลฯด้านพระพุทธศาสนา ด้านพระพุทธศาสนา. ปรีดีเป็นผู้มีบทบาทในการเปลี่ยนแปลง พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ จากฉบับ ร.ศ. 121 (พ.ศ. 2445) มาเป็น พระราชบัญญัติสงฆ์ พ.ศ. 2484 ทำให้การปกครองสงฆ์เป็นประชาธิปไตย อนุวัตรคล้อยตามการปกครองของบ้านเมืองไปด้วย แต่ พระราชบัญญัติสงฆ์ พ.ศ. 2484 ใช้ได้เพียง 20 ปี ก็มีเหตุการณ์ไม่ราบรื่นเกิดขึ้นในสังฆมณฑลอย่างจงใจ จนนำคณะสงฆ์กลับไปสู่การปกครองระบอบเผด็จการโดยคณะเดียว ภายใต้ พระราชบัญญัติสงฆ์ พ.ศ. 2505ด้านการศึกษา ด้านการศึกษา. ในขณะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปรีดี พนมยงค์ ได้สถาปนา "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" (มธก.) ขึ้นเมื่อ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2477] และได้รับแต่งตั้งเป็น "ผู้ประศาสน์การ" (พ.ศ. 2477–พ.ศ. 2490) คนแรกและคนเดียวของมหาวิทยาลัย เพื่อสนองเจตนารมณ์ของคณะราษฎรที่ว่า "จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร" ด้วยเห็นว่าในขณะนั้น สถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่มีอยู่มิได้เปิดกว้างเพื่อชนส่วนใหญ่ ดังนั้นมหาวิทยาลัยใหม่ตามแนวความคิดของเขา จึงเป็นมหาวิทยาลัยที่เปิดกว้างเพื่อราษฎร เป็นตลาดวิชา ทุกคนมีสิทธิเสรีภาพในการศึกษาเล่าเรียนเท่าเทียมกัน ปรีดีกล่าวไว้ในวันสถาปนามหาวิทยาลัยว่า มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในระยะแรกมิได้ใช้งบประมาณแผ่นดิน หากอาศัยเงินที่มาจากค่าสมัครเข้าเรียนของนักศึกษาทั่วราชอาณาจักรและดอกผลที่ได้มาจากธนาคารแห่งเอเชียเพื่อพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม ซึ่งปรีดีเป็นผู้ก่อตั้ง โดยให้มหาวิทยาลัยถือหุ้นถึง 80% นอกจากนี้ปรีดียังได้ยกกิจการโรงพิมพ์นิติสาส์นของเขาให้แก่มหาวิทยาลัยเพื่อพิมพ์เอกสารตำราคำสอนแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยดังกล่าวได้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทย ยิ่งไปกว่านั้นยังมีบทบาทสำคัญในการต่อต้านสงครามและต่อสู้เพื่อสันติภาพ โดยมหาวิทยาลัยเป็นที่ตั้งศูนย์บัญชาการใหญ่ของขบวนการเสรีไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ภายหลังจากที่ปรีดีต้องลี้ภัยทางการเมือง รัฐบาลได้เปลี่ยนชื่อมหาวิทยาลัย โดยตัดคำว่า "วิชา" และ "การเมือง" ออก เหลือเพียงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อไม่ให้นักศึกษายุ่งเกี่ยวกับการเมือง ทั้งยังขายหุ้นทั้งหมดของมหาวิทยาลัย จนไม่มีความสามารถที่จะเลี้ยงตัวเองได้ กลายเป็นมหาวิทยาลัยปิดที่ต้องอาศัยงบประมาณจากรัฐบาลด้านการต่างประเทศ ด้านการต่างประเทศ. เมื่อภารกิจด้านการปกครองในกระทรวงมหาดไทยเข้ารูปเข้ารอยแล้ว ปรีดี พนมยงค์ ได้ก้าวเข้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (พ.ศ. 2478–พ.ศ. 2481) ในเวลานั้นสยามยังอยู่ภายใต้บังคับของสนธิสัญญาระหว่างประเทศอันไม่เป็นธรรม ที่รัฐบาลสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ได้ถูกบังคับให้ทำไว้กับประเทศต่าง ๆ 13 ประเทศ ในนามของ "สนธิสัญญาทางไมตรีพาณิชย์และการเดินเรือ" ใน พ.ศ. 2478 หลังจากได้ประกาศใช้ประมวลกฎหมายแล้ว รัฐบาลเห็นว่าถึงเวลาแล้วที่ควรจะหาทางยกเลิกสนธิสัญญาที่ไม่เสมอภาค และทวงอำนาจอธิปไตยของประเทศกลับคืนมา โดยยึดหลักเอกราชทั้งในทางการเมือง การศาล และเศรษฐกิจ ตลอดจนหาทางลดอัตราดอกเบี้ยในการกู้ยืมเงินที่รัฐบาลเก่าได้ทำสัญญาไว้ ปรีดี พนมยงค์ และคณะจึงออกเดินทางไปพบปะเจรจากับผู้นำประเทศมหาอำนาจต่าง ๆ ในยุโรป อเมริกา และเอเชีย อาทิ เบนิโต มุสโสลินี ผู้นำฟาสซิสต์แห่งอิตาลี ปีแอร์ ลาวาล นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส ฮจาล์ มาร์ ซาคท์ตัวแทนของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำนาซีเยอรมัน เซอร์ แซมมวล ฮอร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศอังกฤษ คอร์เดล ฮัลล์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา จักรพรรดิฮิโรฮิโตแห่งญี่ปุ่น และบุคคลสำคัญอื่น ๆ ในหลายประเทศ ตลอดระยะเวลา 3 ปีที่ดำรงตำแหน่ง ปรีดีได้ใช้ความพยายามทางการทูตเจรจาแก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคที่สยามได้ทำไว้กับประเทศมหาอำนาจ 13 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ อังกฤษ สเปน โปรตุเกส เดนมาร์ก สวีเดน อิตาลี เบลเยียม และนอร์เวย์ ตามลำดับ ซึ่งประเด็นหลักในการแก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคมีอยู่ 2 ประเด็น คือ1. สิทธิสภาพนอกอาณาเขต คือคนในบังคับของต่างประเทศไม่ต้องขึ้นต่อศาลสยาม ทำให้สยามสูญเสียเอกราชในทางศาล 2. ภาษีร้อยชักสาม คือรัฐบาลสยามสามารถเรียกเก็บภาษีศุลกากรขาเข้าได้เพียงไม่เกินร้อยละ 3 ทำให้สยามขาดรายได้เข้าประเทศเท่าที่ควรจะได้ นับเป็นการสูญเสียเอกราชในทางเศรษฐกิจ โดยใช้ยุทธวิธีบอกเลิกสนธิสัญญาไม่เสมอภาคกับประเทศคู่สัญญาเหล่านั้น และได้ยื่นร่างสนธิสัญญาฉบับใหม่โดยอาศัยหลัก "ดุลยภาพแห่งอำนาจ" จนสามารถยกเลิกสนธิสัญญาดังกล่าวเป็นผลสำเร็จ ทำให้สยามได้เอกราชทางศาลและเอกราชทางเศรษฐกิจกลับคืนมา และมีสิทธิเสมอภาคกับนานาประเทศทุกประการ หนังสือพิมพ์สเตรตไทม์ของสิงคโปร์ กล่าวยกย่องปรีดีไว้ในบทบรรณาธิการว่า "ดอกเตอร์ปรีดี พนมยงค์ เสมือนหนึ่งเป็น แอนโทนี อีเดน" ผู้เป็นรัฐมนตรีต่างประเทศคนสำคัญของรัฐบาลอังกฤษด้านการคลัง ด้านการคลัง. เมื่อปรีดีเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (พ.ศ. 2481–พ.ศ. 2484) ได้ตั้งปณิธานที่จะใช้เครื่องมือทางการคลังสร้างความมั่นคงให้แก่ชาติ สร้างความเป็นธรรมและความสุขสมบูรณ์แก่ราษฎร โดยแถลงต่อรัฐสภาว่าจะปรับปรุงระบบการเก็บภาษีให้เป็นธรรมแก่สังคม และได้บรรลุภารกิจในด้านการจัดเก็บภาษีอากรที่สำคัญ ดังนี้1. ช่วยเหลือราษฎรที่ต้องแบกรับภาษีที่ไม่เป็นธรรม ด้วยการยกเลิกเงินภาษีรัชชูปการ และอากรค่านา (เงินส่วย) ซึ่งชาวนาต้องเสียแก่เจ้าศักดินา เป็นต้น 2. จัดระบบเก็บภาษีอากรที่เป็นธรรมในระบอบประชาธิปไตยโดนสถาปนา "ประมวลรัษฎากร" เป็นแบบฉบับครั้งแรกในประเทศไทย ซึ่งรวมบทบัญญัติเกี่ยวกับภาษีอากรทางตรง 3. ออก พรบ.ภาษีเงินได้ ซึ่งเป็นภาษีก้าวหน้า กล่าวคือผู้ใดมีรายได้มากก็เสียภาษีมากหากมีรายได้น้อยก็เสียภาษีน้อย และผู้ใดบริโภคเครื่องบริโภคที่ไม่จำเป็นแก่การดำรงชีพก็ต้องเสียภาษีอากรมากตามลำดับ ในด้านการสร้างเสถียรภาพทางการเงินและการคลังของประเทศ ปรีดีคาดการณ์ว่าอาจเกิดสงครามโลกครั้งที่สองขึ้นในไม่ช้า เงินปอนด์สเตอร์ลิงซึ่งสยามประเทศใช้เป็นทุนสำรองเงินตราอาจจะลดค่าลงได้ เขาพิจารณาอย่างรอบคอบแล้วเห็นว่าภายใต้สถานการณ์ของโลกที่มีความไม่แน่นอนนั้น การเก็บรักษาทุนสำรองของชาติเอาไว้เป็นทองคำแท่งน่าจะเป็นนโยบายที่เหมาะสม และเห็นว่าอังกฤษซึ่งอยู่ในสถานะสงครามกับเยอรมนีในยุโรปแล้วตั้งแต่ปี 2482 มีแนวโน้มว่าจะต้องเผชิญหน้ากับญี่ปุ่นในเอเชียแปซิฟิกด้วยในอนาคตอันใกล้ อันจะมีผลกระทบต่อสถานภาพของเงินปอนด์สเตอร์ลิงอย่างหลีกเลี่ยงไม่พ้น จึงได้จัดการเอาเงินปอนด์ที่เป็นเงินทุนสำรองเงินตราจำนวนหนึ่งซื้อทองคำแท่งหนัก 1 ล้าน ออนซ์ ในราคาออนซ์ละ 35 ดอลลาร์สหรัฐ นำมาเก็บไว้ในห้องนิรภัยกระทรวงการคลัง นอกจากนี้ยังได้โอนเงินปอนด์เพื่อแลกซื้อเงินดอลลาร์และทองคำแท่งเก็บไว้ที่สหรัฐอเมริกาอีกส่วนหนึ่ง ทำให้เสถียรภาพของค่าเงินบาทในเวลานั้นมั่นคงที่สุดแม้ว่าเป็นระยะใกล้จะเกิดสงครามเต็มทีแล้ว ทองคำแท่งจำนวนดังกล่าวยังคงเก็บรักษาไว้เป็นทุนสำรองเงินบาทอยู่จนทุกวันนี้ เมื่อได้ปรับปรุงระบบภาษีอากรให้เกิดความเป็นธรรมแก่สังคมขึ้นในระดับหนึ่งแล้ว อีกทั้งระบบการเงินของประเทศก็มีความมั่นคงด้วยทุนสำรองเงินตราอันประกอบด้วยทองคำและเงินตราต่างประเทศในสกุลที่ทั่วโลกยอมรับ ปรีดีในฐานะผู้รับผิดชอบบริหารนโยบายการเงินการคลังของประเทศ ก็ได้รื้อฟื้นเรื่องการจัดตั้งธนาคารกลางหรือธนาคารแห่งชาติ ซึ่งได้เคยปรารภไว้แล้วในเค้าโครงการเศรษฐกิจมาพิจารณาอย่างจริงจัง โดยจัดตั้งสำนักงานธนาคารชาติไทยขึ้นก่อน และเร่งฝึกพนักงานเจ้าหน้าที่ไว้ให้พร้อมในการบริหารธนาคารชาติ ต่อมาจึงได้จัดตั้ง "ธนาคารชาติไทย" ขึ้น ใน พ.ศ. 2483 ปัจจุบันคือ "ธนาคารแห่งประเทศไทย" เพื่อทำหน้าที่เป็นธนาคารชาติของรัฐโดยสมบูรณ์บทบาทในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง บทบาทในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง. ก่อนสงครามโลกครั้งที่สองจะอุบัติขึ้น ปรีดี พนมยงค์ เล็งเห็นว่าลัทธิเผด็จการทหารกำลังจะจุดชนวนให้เกิดสงครามโลก จึงอำนวยการสร้างภาพยนตร์เรื่อง "พระเจ้าช้างเผือก" เพื่อสื่อทัศนะสันติภาพและคัดค้านการทำสงครามผ่านไปยังนานาประเทศ โดยแสดงจุดยืนอย่างแจ่มชัดด้วยพุทธภาษิตที่ปรากฏในภาพยนตร์ที่ว่า "นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ" (ไม่มีสุขใดเสมอด้วยความสงบสันติ) ยิ่งไปกว่านั้นเขายังสื่อให้เห็นว่าชาวสยามพร้อมที่จะต่อสู้เพื่อต่อด้านสงครามรุกรานอย่างมีศักดิ์ศรีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์. วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2484 สภาผู้แทนราษฎรมีมติแต่งตั้งคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลขึ้นใหม่ แทนเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ซึ่งถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2481 ประกอบด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และปรีดี พนมยงค์ ต่อมา พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ทรงลาออกจากตำแหน่ง สภาผู้แทนราษฎรจึงมีมติแต่งตั้งปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แต่ผู้เดียว (1 สิงหาคม พ.ศ. 2487–20 กันยายน พ.ศ. 2488) และได้รับแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ต่อไปอีก เนื่องจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงศึกษาอยู่ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ไม่สามารถเสด็จนิวัติประเทศไทยได้หัวหน้าขบวนการเสรีไทย หัวหน้าขบวนการเสรีไทย. ปลาย พ.ศ. 2484 สงครามมหาเอเชียบูรพาปะทุขึ้นเมื่อกองทัพญี่ปุ่นเปิดฉากโจมตีฐานทัพเรือเพิร์ลฮาร์เบอร์ของสหรัฐอเมริกา และรวมไปถึงดินแดนในครอบครองของอังกฤษและเนเธอร์แลนด์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมา เช้ามืดวันที่ 8 ธันวาคม ญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกตามแนวชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทย และส่งกองกำลังภาคพื้นดินบุกเข้าประเทศไทยทางอินโดจีนฝรั่งเศส รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ตกลงทำสัญญาเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นเพื่อให้กองทัพญี่ปุ่นเดินทัพผ่านแผ่นดินไทย ในที่สุดก็ร่วมวงไพบูลย์กับญี่ปุ่น และประกาศสงครามต่อฝ่ายสัมพันธมิตรอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 อันเป็นการละเมิดต่อประกาศพระบรมราชโองการให้ปฏิบัติตามความเป็นกลาง พ.ศ. 2482 ปรีดี พนมยงค์ ไม่เห็นด้วยกับการให้ญี่ปุ่นละเมิดอธิปไตยและแสดงจุดยืนให้ปรากฏโดยเป็นผู้นำในการจัดตั้งองค์การต่อต้านญี่ปุ่น หรือต่อมาเรียกว่า "ขบวนการเสรีไทย" ประกอบด้วยคนไทยทุกชั้นวรรณะ ทั้งที่อยู่ในประเทศและอยู่ต่างประเทศ เขาไม่ยอมลงนามในประกาศสงครามนั้นด้วยเหตุผลสำคัญที่ว่า หากลงนามไปแล้วก็ยากที่จะให้ฝ่ายสัมพันธมิตรเชื่อถือการปฏิบัติการของขบวนการเสรีไทย กระแสความไม่พอใจต่อการตัดสินใจของรัฐบาลจอมพล ป. ได้พุ่งขึ้นอย่างรวดเร็วในหมู่ชนทุกเหล่า แต่รัฐบาลถือว่าตนเองมีความชอบธรรมในการปราบปรามผู้ที่ไม่เห็นด้วย อีกทั้งกองทัพญี่ปุ่นที่เข้ามาประจำการในประเทศ ก็ใช้ท่าทีที่แข็งกร้าวต่อผู้ที่ต้องสงสัยว่าดำเนินกิจกรรมต่อต้านกองทัพญี่ปุ่น ดังนั้นปฏิบัติการต่อต้านรัฐบาลและญี่ปุ่นผู้รุกรานจึงต้องเป็นงาน "ใต้ดิน" ที่ปิดลับ ปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และหัวหน้าขบวนการเสรีไทยในรหัสนามว่า "รู้ธ" (Ruth) ทำงานในสองบทบาทตลอดสงครามมหาเอเชียบูรพา โดยถือความลับสุดยอดเป็นหัวใจของการปฏิบัติงาน คณะผู้ก่อตั้งขบวนการเสรีไทยได้กำหนดภารกิจที่จะต้องปฏิบัติไว้ในชั้นแรกสองประการ คือ1. ต่อสู้กับญี่ปุ่นผู้รุกราน 2. ปฏิบัติการให้ฝ่ายสัมพันธมิตรรับรองเจตนารมณ์ที่แท้จริงของราษฎรไทย ต่อมาเมื่อรัฐบาลจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ได้ประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐอเมริกา จึงทำให้ภารกิจขององค์การเสรีไทยถูกได้เพิ่มขึ้นมาอีกประการหนึ่ง คือ 3. ให้สัมพันธมิตรรับรองว่าประเทศไทยไม่ตกเป็นฝ่ายแพ้สงครามร่วมกับญี่ปุ่น ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2488 ปรีดีแจ้งให้สัมพันธมิตรทราบว่า เสรีไทยจำนวน 8 หมื่นคนทั่วประเทศพร้อมที่จะลุกฮือขึ้นเพื่อทำสงครามกับทหารญี่ปุ่นอย่างเปิดเผย แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ร้องขอให้ชะลอแผนนี้ไว้ก่อน ด้วยเหตุผลทางแผนยุทธศาสตร์ของฝ่ายสัมพันธมิตร ในที่สุดฝ่ายญี่ปุ่นก็ยอมแพ้สงครามอย่างไม่มีเงื่อนไขเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488 เมื่อญี่ปุ่นได้ยอมจำนน ฝ่ายสัมพันธมิตรจึงได้แจ้งให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ซึ่งเป็นหัวหน้าขบวนการเสรีไทยว่า สัมพันธมิตรไม่ถือว่าประเทศไทยเป็นผู้แพ้สงคราม ประเทศไทยไม่ต้องถูกยึดครอง รัฐบาลไทยไม่ต้องยอมจำนน กองทัพไทยไม่ต้องวางอาวุธ และให้รีบออกแถลงการณ์ปฏิเสธการประกาศสงครามระหว่างไทยกับสัมพันธมิตร เพื่อลบล้างข้อผูกพันทั้งหลายที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ทำไว้กับญี่ปุ่นประกาศสันติภาพ ประกาศสันติภาพ. วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ได้ออกประกาศสันติภาพในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ว่าการประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 เป็น "โมฆะ" ไม่ผูกพันประชาชนชาวไทย และประเทศไทยพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกับสหประชาชาติในการสถาปนาสันติภาพในโลกนี้ ต่อมารัฐบาลได้ประกาศให้วันที่ 16 สิงหาคม ของทุกปีเป็น "วันสันติภาพไทย" ภายหลังจากการประกาศสันติภาพ ตัวแทนพลพรรคเสรีไทยจากทั่วประเทศกว่า 8, 000 นาย ได้เดินสวนสนามผ่านอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน โดยมีปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และหัวหน้าขบวนการเสรีไทยเป็นประธาน เมื่อสิ้นสุดภารกิจลงแล้ว เขาได้ประกาศยกเลิกขบวนการเสรีไทย โดยมีสุนทรพจน์บางตอนว่า เมื่อบ้านเมืองสงบเรียบร้อยดีแล้วปรีดี พนมยงค์ จึงขออัญเชิญสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จนิวัติประเทศไทยเพื่อทรงบริหารราชการแผ่นดินด้วยพระองค์เองต่อไป โดยได้เสด็จกลับถึงพระนครวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัสตอบปรีดีที่ไปเฝ้ารับเสด็จดังนี้บทบาททางการเมืองหลังสงครามโลกครั้งที่สองรัฐบุรุษอาวุโส บทบาททางการเมืองหลังสงครามโลกครั้งที่สอง. รัฐบุรุษอาวุโส. ด้วยคุณูปการที่เป็นผู้นำในการกอบกู้บ้านเมืองในยามคับขัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกย่องปรีดี พนมยงค์ ไว้ในฐานะ "รัฐบุรุษอาวุโส" ซึ่งถือได้ว่าเป็นตำแหน่งทางการเมืองอันทรงเกียรติสูงสุด ดังที่ปรากฏในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2488 ความว่า ในโอกาสนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ ซึ่งเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่สามัญชนพึงได้รับพระราชทาน แก่รัฐบุรุษอาวุโสปรีดี พนมยงค์ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2488ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี. ปรีดี พนมยงค์ ได้รับเลือกจากสภาผู้แทนราษฎรให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เขาได้ใช้ความรู้ความสามารถเจรจาต่อรองกับฝ่ายสัมพันธมิตรในปัญหาต่าง ๆ โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงข้อตกลงกับอังกฤษ เรื่องสัญญาสมบูรณ์แบบ และการเจรจาให้รัฐบาลสหรัฐยกเลิกคำสั่งเพิกถอนเงินซึ่งได้ถูกกักกันไว้ในสหรัฐ ให้ประเทศไทยสามารถแก้ไขสถานะผู้แพ้สงครามได้สำเร็จอย่างละมุนละม่อม สามารถเข้าเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติลำดับที่ 55 วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคต รัฐบาลปรีดีที่เพิ่งชนะเลือกตั้งหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 จึงขอความเห็นชอบต่อรัฐสภาให้อัญเชิญพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ขึ้นครองราชย์สืบสันตติวงศ์ต่อไป เมื่อสภามีมติเห็นชอบแล้ว ปรีดีก็ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ทั้งที่เพิ่งได้รับโปรดเกล้าฯ เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2489 แต่สภาผู้แทนราษฎรก็สนับสนุนให้ปรีดีดำรงตำแหน่งตามเดิม กรณีสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ได้ทำให้ศัตรูทางการเมืองของปรีดี ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มทหารสาย จอมพล ป. พิบูลสงครามที่สูญเสียอำนาจหลังสงครามโลกครั้งที่สอง พรรคการเมืองฝ่ายค้านนำโดย พรรคประชาธิปัตย์ และกลุ่มอำนาจเก่า ฉวยโอกาสนำมาใช้ทำลายปรีดีทางการเมือง โดยการกระจายข่าวไปตามหนังสือพิมพ์ ร้านกาแฟ และสถานที่ต่าง ๆ รวมทั้งส่งคนไปตะโกนในศาลาเฉลิมกรุงว่า "ปรีดีฆ่าในหลวง" และนำไปสู่การลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของเขาในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2489 โดยหลังจากนั้น หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มปรีดี ให้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน ต้นเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2489 ภายหลังจากที่ปรีดีลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแล้ว ก็ได้รับเชิญจากรัฐบาลหลายประเทศให้ไปเยือนประเทศเหล่านั้น รัฐบาลไทยจึงมอบหมายให้เขาเป็นหัวหน้าคณะทูตสันถวไมตรีเดินทางรอบโลกเพื่อเจริญสัมพันธไมตรีและพบปะกับผู้นำนานาประเทศ โดยได้ไปเยือนประเทศจีนเป็นแห่งแรก จากนั้นก็ไปฟิลิปปินส์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน และนอร์เวย์ รวมทั้งสิ้นเก้าประเทศ และกลับมาถึงกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490 รวมเวลาที่ออกไปปฏิบัติภารกิจในต่างประเทศ 3 เดือนเต็มลี้ภัยรัฐประหาร ลี้ภัยรัฐประหาร. ต่อมาในวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 คณะรัฐประหาร ประกอบด้วย พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ พ.อ.กาจ กาจสงคราม พ.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ พ.อ.สฤษดิ์ ธนะรัชต์ พ.อ.ถนอม กิตติขจร พ.ท.ประภาส จารุเสถียร และ ร.อ.สมบูรณ์ (ชาติชาย) ชุณหะวัณ ได้ยึดอำนาจการปกครองประเทศ จากรัฐบาลหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ ด้วยสาเหตุที่รัฐบาลไม่สามารถคลี่คลายคดีสวรรคตลงได้ ประกอบกับการลดบทบาทของกองทัพ และปัญหาทางเศรษฐกิจ หลังจากยึดอำนาจสำเร็จ คณะรัฐประหารได้นำกำลังทหารพร้อมรถถังบุกยิงทำเนียบท่าช้างวังหน้าซึ่งปรีดีและครอบครัวอาศัยอยู่ แล้วพยายามจะจับกุมตัวปรีดี แต่เขาก็หลบหนีไปได้ภายใต้การอารักขาของทหารเรือและได้อาศัยฐานทัพเรือสัตหีบเป็นที่หลบภัยอยู่ชั่วระยะหนึ่ง เมื่อพิจารณาเห็นว่ายังไม่พร้อมที่จะต่อต้านคณะรัฐประหาร จึงได้ลี้ภัยการเมืองไปยังประเทศสิงคโปร์ จนถึงปลายเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2491 จึงออกเดินทางต่อไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน ต่อมา ใน พ.ศ. 2492 ปรีดี พนมยงค์ กลับมาประเทศไทยเพื่อยึดอำนาจคืนจากรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในเหตุการณ์ "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 แต่กระทำไม่สำเร็จ (เรียกกันว่า "กบฏวังหลวง") ทำให้ปรีดี พนมยงค์ ต้องเดินทางออกจากประเทศไทยไปพำนักยังประเทศสิงคโปร์เพื่อจะไปสู่สหรัฐอเมริกา แต่ด้วยเหตุที่มีปัญหาเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง ทำให้ปรีดีต้องเดินทางไปยังประเทศจีนซึ่งขณะนั้นยังอยู่ภายใต้รัฐบาลก๊กมินตั๋งแทน ต่อมา พ.ศ. 2513 จึงได้เดินทางต่อไปยังกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส และได้พำนักอยู่ที่นั่นตลอดมาจนเสียชีวิตปัจฉิมวัย ปัจฉิมวัย. หลายปีที่ปรีดีลี้ภัยทางการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ ยังมีการกล่าวหาว่าปรีดีสมคบการปลงพระชนม์ในหลวงอยู่เป็นระยะ ๆ เขาจึงต้องฟ้องร้องผู้ใส่ความหมิ่นประมาทต่อศาลยุติธรรม ผลปรากฏว่าศาลตัดสินให้ชนะทุกคดี นอกจากนี้ โดยคำพิพากษาของศาลในกรณีฟ้องร้องรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีสกับพวก ในข้อหาร่วมกันละเมิดสิทธิของโจทก์ ปรีดีจึงได้รับความรับรองจากทางราชการในฐานะคนไทยโดยสมบูรณ์ตามกฎหมายทุกประการ และได้รับเงินบำนาญตลอดจนได้รับหนังสือเดินทางของไทย ขณะพำนักอยู่ในประเทศจีน ปรีดีได้มีโอกาสพบปะสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้นำพรรคและรัฐบาลจีนไม่ว่าจะเป็นประธานาธิบดีเหมา เจ๋อตง นายกรัฐมนตรีโจว เอินไหล จอมพลเฉินยี่ เติ้ง เสี่ยวผิง เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน นอกจากนี้ยังได้พบปะสนทนากับผู้นำกอบกู้เอกราชของชาติในอินโดจีน อาทิ ประธานาธิบดีโฮจิมินห์และนายกรัฐมนตรีฝ่ามวันดง แห่งเวียดนาม เจ้าสุภานุวงศ์ ประธานประเทศลาว เจ้าสุวรรณภูมา และพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กษัตริย์แห่งกัมพูชา โดยเฉพาะมิตรภาพระหว่างปรีดีกับประธานโฮจิมินห์นั้น ยืนยาวมาตั้งแต่สมัยที่เขาผู้นี้ต่อสู้กับฝรั่งเศส ต้นเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2513 โจวเอินไหลได้อำนวยความสะดวกให้ปรีดีเดินทางจากประเทศจีนไปยังกรุงปารีส ด้วยความช่วยเหลือจากนายกีโยม จอร์จ-ปีโก (Guillaume Georges- Picot) มิตรเก่าที่มีตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตถาวรของประเทศฝรั่งเศส และโดยได้รับความเห็นชอบจากประธานาธิบดี ชาร์ลส์ เดอ โกลล์ ปรีดีจึงได้พำนักอยู่ ณ ประเทศฝรั่งเศส ในช่วงปลายชีวิตอย่างสันติสุข ท่านเป็นผู้สนใจสนใจในพุทธศาสนา โดยเฉพาะหนังสือเรื่อง "กฎบัตรของพุทธบริษัท" ที่พุทธทาสภิกขุส่งไปให้นั้น ปรีดีจะพกในกระเป๋าเสื้อนอกติดตัวอยู่ตลอดเวลาตราบจนวาระสุดท้ายของชีวิต เวลา 11 นาฬิกาเศษ ของวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ณ บ้านอองโตนี ชานกรุงปารีส ปรีดี พนมยงค์ สิ้นใจด้วยอาการหัวใจวายขณะกำลังเขียนหนังสืออยู่ที่โต๊ะทำงานงานเขียน งานเขียน. ปรีดีเป็นผู้ใฝ่หาความรู้ทางด้านวิทยาการต่าง ๆ ทั้งสังคมศาสตร์ ขณะพำนักอยู่ในประเทศจีน ได้ศึกษาค้นคว้าเพื่อรู้แจ้งเห็นจริงทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติ รวมทั้งผลงานของเมธีทางด้านปรัชญาและสังคมศาสตร์ เช่น มาร์กซ์ เองเงิลส์ เลนิน สตาลิน และเหมา เจ๋อตุง ในเชิงเปรียบเทียบสภาพสังคมไทยทุกแง่ทุกมุม อาทิ ระบอบเศรษฐกิจ การเมือง ทัศนะสังคม ประวัติศาสตร์ ชนชาติ ศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณี แล้วได้เรียบเรียงเป็นบทความ ซึ่งได้ตีพิมพ์ในโอกาสต่อมา งานเขียนชิ้นสำคัญของเขาที่นำพุทธปรัชญามาวิเคราะห์วิวัฒนาการของมนุษยสังคมคือ "ความเป็นอนิจจังของสังคม" ซึ่งได้รับการตีพิมพ์หลายครั้งและเป็นที่สนใจของผู้ที่ต้องการศึกษาอยู่ตลอดมา เพราะข้อความที่เขียนอันเป็นสัจจะอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ทุกยุคทุกสมัย ผลงานงานเขียนบางส่วนของปรีดี ได้แก่- บันทึกข้อเสนอเรื่อง ขุดคอคอดกระ, กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501 - ชีวิตผันผวนของข้าพเจ้าและ 21 ปีที่ลี้ภัยในสาธารณรัฐราษฎรจีน (Ma vie mouvementee et mes 21 ans d' exil en Chine Populaire) - ความเป็นมาของชื่อ “ประเทศสยาม” กับ “ประเทศไทย” - จงพิทักษ์เจตนารมณ์ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของวีรชน 14 ตุลาคม - ประชาธิปไตย เบื้องต้นสำหรับสามัญชน - ประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญเบื้องต้นกับการร่างรัฐธรรมนูญ - ปรัชญาคืออะไร - “ความเป็นไปบางประการในคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์” ใน บางเรื่องเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศ์… - บางเรื่องเกี่ยวกับการก่อตั้งคณะราษฎรและระบบประชาธิปไตย - ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับเอกภาพของชาติและประชาธิปไตย - ความเป็นเอกภาพกับปัญหาสามจังหวัดภาคใต้, สหพันธ์นิสิตนักศึกษาชาวปักษ์ใต้แห่งประเทศไทย, 2517 - อนาคตของเมืองไทยกับสถานการณ์ของประเทศเพื่อนบ้าน, ประจักษ์การพิมพ์, 2518เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย. - พ.ศ. 2488 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ (น.ร.) รับพระราชทาน 11 ธันวาคม พ.ศ. 2488 - พ.ศ. 2488 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นสูงสุด ปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) รับพระราชทาน 9 ธันวาคม พ.ศ. 2488 - พ.ศ. 2484 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) รับพระราชทาน 19 มิถุนายน พ.ศ. 2484 - พ.ศ. 2480 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) รับพระราชทาน 13 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - พ.ศ. 2478 – เหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ รับพระราชทาน 21 เมษายน พ.ศ. 2478 - พ.ศ. 2481 – เหรียญดุษฎีมาลา เข็มราชการแผ่นดิน (ร.ด.ม. (ผ)) รับพระราชทาน 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 - พ.ศ. 2481 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 1 (อปร.1) รับพระราชทาน 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศการเชิดชูเกียรติวันสำคัญ การเชิดชูเกียรติ. วันสำคัญ. ทุกวันที่ 11 พฤษภาคมของทุกปีเป็นวันปรีดี พนมยงค์ ซึ่งเป็นวันคล้ายวันเกิดของปรีดี พนมยงค์ ในวาระครบรอบ 100 ปีชาตกาล เมื่อ ค.ศ. 2000 ปรีดีได้รับการประกาศยกย่องจากยูเนสโกให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก และได้มีการบรรจุชื่อไว้ในปฏิทินเฉลิมฉลองบุคคลสำคัญของยูเนสโกพันธุ์สัตว์ พันธุ์สัตว์. เมื่อ พ.ศ. 2546 ได้ค้นพบปลาปล้องทองปรีดี (Schistura pridii) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยเชียงดาว อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ โดยตั้งชื่อตามนามของปรีดี พนมยงค์ และ นายเอช.จี.ไดแนน (H.G.Deignan) ได้ค้นพบ นกปรีดี (Chloropsis aurifrons pridii) ที่ดอยอ่าง ดอยอินทนนท์ซึ่งนกปรีดีนั้นเป็นนกชนิดย่อยของนกเขียวก้านตองหน้าผากสีทอง ที่สถาบันสมิธโซเนียนแห่งสหรัฐอเมริกาตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะหัวหน้าขบวนการเสรีไทย และพบกระจายพันธุ์อยู่บริเวณภาคเหนือเรื่อยลงไปทางด้านตะวันตกจนถึงจังหวัดตาก เป็นนกประจำถิ่นที่มีสีสันสวยงาม กินผลไม้และแมลงเป็นอาหาร นอกจากนี้นายไดแนน ยังตั้งชื่อนกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าอีกชนิดย่อยหนึ่ง ที่พบกระจายพันธุ์อยู่ทางภาคใต้ เพื่อเป็นเกียรติแก่ขบวนการเสรีไทยว่า Chloropsis cochinchinensis seri-thaiสถานที่ สถานที่. อนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ มีอยู่ 2 ที่คือ บริเวณที่ดินถิ่นกำเนิดของปรีดี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นอนุสรณ์สถานรำลึกปรีดี พนมยงค์ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเมือง ตรงข้ามวัดพนมยงค์ อนุสาวรีย์ปรีดีพนมยงค์เป็นรูปสัญลักษณ์ที่แสดงถึงอุดมการณ์อันสำคัญยิ่งของปรีดี 3 ประการคือ สันติภาพ เสรีไทยและประชาธิปไตย และห้องอนุสรณ์สถานบนตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอนุสรณ์แห่งแรกที่ก่อสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงปรีดี พนมยงค์ สถาบันปรีดี พนมยงค์ มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ ได้จัดสร้างอาคารสถาบันปรีดี พนมยงค์ ขึ้น ณ ซอยทองหล่อ ถนนสุขุมวิท 55 สำหรับใช้ดำเนินกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ต่อสังคมและราษฎรไทย เปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2538 คณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ คณะนิติศาสตร์ในมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เพื่อเป็นการรำลึกถึงความผูกพันระหว่างศาสตราจารย์ ปรีดี พนมยงค์ กับศาสตราจารย์ ไสว สุทธิพิทักษ์ ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยและเป็นอธิการบดีคนแรก หอสมุดปรีดี พนมยงค์ เป็นหอสมุดกลางของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีเนื้อที่รวมประมาณ 10, 000 ตารางเมตร แต่เดิมชื่อ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเปลี่ยนเป็น ห้องสมุดธรรมศาสตร์ ในเวลาต่อมา ก่อตั้งขึ้นพร้อม กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ใน พ.ศ. 2477 เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของ ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นิติไกรพจน์เพื่อรองรับการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ โดยจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแด่ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ในวาระครบ 100 ปี ชาตกาลเพลง เพลง. ปรีดีคีตานุสรณ์ คือ บทเพลงซิมโฟนีหมายเลข 4 ประพันธ์โดยคีตกวี สมเถา สุจริตกุล ในวาระครบรอบ 100 ปีชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ ซึ่งใน พ.ศ. 2543 ดุษฎี พนมยงค์ได้ขับร้องในการแสดงรอบปฐมทัศน์ "ปรีดีคีตานุสรณ์" ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย และใน พ.ศ. 2545 ดุษฎี พนมยงค์ ก็ได้แสดงขับร้องใน "ปรีดีคีตานุสรณ์" ร่วมกับวงดุริยางค์และคณะนักร้องประสานเสียงแห่งชาติเวียดนาม ณ ฮานอยอื่น ๆอื่น ๆ. - ถนนปรีดี พนมยงค์ มีอยู่ 3 สาย คือที่ถนนสุขุมวิท 71, ถนนใจกลางเมืองพระนครศรีอยุธยา และภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต - สะพานปรีดี-ธำรง สะพานข้ามแม่น้ำป่าสักอันเป็นทางเข้าออกหลักของเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา ตั้งตามชื่อปรีดี พนมยงค์ และหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ - ถนนประดิษฐ์มนูธรรม เป็นถนนเลียบทางพิเศษฉลองรัช (ทางด่วนสายรามอินทรา-อาจณรงค์) มีความยาว 12 กิโลเมตร - แสตมป์ ชุดที่ระลึก 111 ปีชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ โดยบริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด วางจำหน่ายครั้งแรก 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยกี่สมัย
{ "answer": [ "3" ], "answer_begin_position": [ 472 ], "answer_end_position": [ 473 ] }
3,627
749
ปรีดี พนมยงค์ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และเป็นผู้ให้กำเนิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทย เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย 3 สมัย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่าง ๆ อีกหลายสมัย เป็นผู้ก่อตั้งและผู้ประศาสน์การเพียงคนเดียวของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง และเป็นผู้ก่อตั้งธนาคารชาติไทย (ปัจจุบัน คือ ธนาคารแห่งประเทศไทย) ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ปรีดีเป็นผู้นำขบวนการเสรีไทยต่อต้านกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น ทำให้ประเทศไทยรอดพ้นจากการเป็นผู้แพ้สงคราม นอกจากนี้เขายังได้รับแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในรัชกาลที่ 8 และได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกย่องในฐานะ "รัฐบุรุษอาวุโส" ปรีดีต้องยุติบทบาททางการเมืองหลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล โดยถูกกล่าวหาจากพรรคการเมืองฝ่ายตรงข้ามว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ดังกล่าว ต่อมาเกิดการรัฐประหาร พ.ศ. 2490 เป็นเหตุให้เขาต้องลี้ภัยการเมืองไปยังประเทศจีนและฝรั่งเศสรวมระยะเวลากว่า 30 ปี และไม่ได้กลับสู่ประเทศไทยอีกเลยจนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ระหว่างที่ลี้ภัยอยู่ต่างประเทศ ปรีดีได้ฟ้องร้องผู้ใส่ความหมิ่นประมาทต่อศาลยุติธรรม ผลปรากฏว่าศาลตัดสินให้ชนะทุกคดี และยังได้รับความรับรองจากทางราชการตลอดจนเงินบำนาญและหนังสือเดินทางของไทย ใน พ.ศ. 2542 ที่ประชุมสมัยสามัญครั้งที่ 30 ขององค์การยูเนสโก ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ได้มีมติประกาศให้ปรีดี พนมยงค์ เป็น "บุคคลสำคัญของโลก" และได้ร่วมเฉลิมฉลองในวาระครบรอบ 100 ปี ชาตกาลของเขา ระหว่าง พ.ศ. 2543–พ.ศ. 2544 นอกจากนี้นิตยสารเอเชียวีกยังได้เสนอชื่อของเขาเข้าชิงตำแหน่ง "Asian Of The Century" อีกด้วยประวัติ ประวัติ. ปรีดี พนมยงค์ เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 ณ เรือนแพหน้าวัดพนมยงค์ ตำบลท่าวาสุกรี อำเภอกรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในครอบครัวชาวนาไทย เป็นบุตรคนที่ 2 จากจำนวนพี่น้อง 6 คน ของนายเสียง และนางลูกจันทน์ พนมยงค์ บรรพบุรุษของปรีดีตั้งถิ่นฐานอยู่ใกล้วัดพนมยงค์มาเป็นเวลาช้านาน โดยที่บรรพบุรุษข้างบิดานั้นสืบเชื้อสายมาจากพระนมในสมัยอาณาจักรอยุธยา ชื่อ "ประยงค์" พระนมประยงค์เป็นผู้สร้างวัดในที่สวนของตัวเอง โดยตั้งชื่อวัดตามผู้สร้างว่า วัดพระนมยงค์ หรือ วัดพนมยงค์ กาลเวลาล่วงเลยมาจนเมื่อมีการประกาศพระราชบัญญัติขนานนามสกุล พ.ศ. 2456 ทายาทจึงได้ใช้นามสกุลว่า "พนมยงค์" และได้อุปถัมภ์วัดนี้เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน บรรพบุรุษรุ่นปู่-ย่าของปรีดีประกอบกิจการค้าขายมีฐานะเป็นคหบดีใหญ่ แต่นายเสียงบิดาของปรีดีเป็นคนชอบชีวิตอิสระไม่ชอบประกอบอาชีพค้าขายเจริญรอยตามบรรพบุรุษ จึงหันไปยึดอาชีพกสิกรรม เริ่มต้นด้วยการทำป่าไม้ และต่อมาได้ไปบุกเบิกถางพงร้างเพื่อจับจองที่ทำนาบริเวณทุ่งหลวง อำเภอวังน้อย แต่ก็ต้องประสบกับปัญหาภัยธรรมชาติ โขลงช้างป่า และแมลงที่มารบกวนทำลายต้นข้าวทำให้ผลผลิตออกมาไม่ดี ไม่สามารถขายข้าวได้ ซ้ำร้ายรัฐบาลได้ให้สัมปทานบริษัทขุดคลองแห่งหนึ่งขุดคลองผ่านที่ดินของนายเสียงและยังเรียกเก็บค่าขุดคลอง (ดูประวัติคลองรังสิต) ซึ่งบิดาของปรีดีต้องกู้เงินมาจ่ายเป็นค่ากรอกนาในอัตราไร่ละ 4 บาท แลกกับการได้ครอบครองที่ดินที่จับจองไว้จำนวน 200 ไร่ ทำให้ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวย่ำแย่ลงไปอีก ต้องอดทนเป็นหนี้สินอยู่หลายปี เหตุการณ์ครั้งนั้นยังทำให้ราษฎรผู้บุกเบิกจับจองที่ดินมาก่อนต้องสูญเสียที่ดินไปเป็นจำนวนมากและกลายเป็นชาวนาผู้เช่าที่ในที่สุด จากการเติบโตในครอบครัวชาวนานี้เอง ปรีดีจึงได้สัมผัสรับรู้เป็นอย่างดีถึงสภาพความเป็นอยู่และความทุกข์ยากของชนชั้นชาวนาทั้งหลายที่ฝากชีวิตไว้กับความไม่แน่นอนของดินฟ้าอากาศ ราคาพืชผลในตลาด และดอกเบี้ยของนายทุน นอกจากนี้ยังต้องพบกับการถูกเอารัดเอาเปรียบจากเจ้าที่ดินศักดินาที่กระทำผ่านการเก็บภาษีและการถือครองกรรมสิทธิ์ที่ดิน ประสบการณ์เหล่านี้เป็นแรงกระตุ้นให้ปรีดีคิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศในเวลาต่อมา ปรีดีเมื่อครั้งเยาว์วัยเป็นเด็กหัวดี ช่างคิด ช่างสังเกตวิเคราะห์ และเริ่มมีความสนใจทางการเมืองมาตั้งแต่อายุเพียง 11 ปี จากเหตุการณ์ปฏิวัติในประเทศจีนที่นำโดย ซุน ยัตเซ็น และเหตุการณ์กบฏ ร.ศ. 130 ในสยาม ซึ่งปรีดีได้แสดงความเห็นอกเห็นใจอย่างมากต่อผู้ที่ถูกลงโทษในครั้งนั้น ถึงแม้ว่าปรีดีจะเกิดในครอบครัวชาวนา แต่บิดาของเขาก็เป็นผู้ใฝ่รู้และเล็งเห็นประโยชน์ของการศึกษา จึงสนับสนุนให้บุตรได้รับการศึกษาที่ดีมาโดยตลอด เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ซึ่งเป็นญาติผู้ใหญ่ฝ่ายภรรยาปรีดี ได้เคยกล่าวถึงนายเสียง พนมยงค์ ว่าการศึกษา การศึกษา. ปรีดีเริ่มเรียนหนังสือที่บ้านครูแสง ตำบลท่าวาสุกรี และสำเร็จการศึกษาในระดับประถมที่โรงเรียนวัดศาลาปูน อำเภอกรุงเก่า จากนั้นไปศึกษาชั้นมัธยมเตรียมที่โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร แล้วย้ายไปศึกษาต่อที่โรงเรียนตัวอย่างประจำมณฑลกรุงเก่า (ปัจจุบันคือ โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย) จนสอบไล่ได้ชั้นมัธยม 6 ซึ่งเป็นชั้นสูงสุดสำหรับหัวเมือง แล้วไปศึกษาต่อที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ใน พ.ศ. 2460 เข้าศึกษาที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม และศึกษาภาษาฝรั่งเศสที่เนติบัณฑิตยสภา กับอาจารย์เลเดแกร์ (E.Ladeker) ที่ปรึกษาศาลต่างประเทศกระทรวงยุติธรรม ต่อมาสอบไล่วิชากฎหมายชั้นเนติบัณฑิตได้ในขณะมีอายุ 19 ปี แต่ตามข้อบังคับสมัยนั้นยังเป็นเนติบัณฑิตไม่ได้เพราะอายุยังไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์ ต้องรอจนอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์จึงได้เป็นสมาชิกสามัญแห่งเนติบัณฑิตยสภา ต่อมาได้รับการคัดเลือกจากกระทรวงยุติธรรมให้ทุนไปศึกษาต่อที่ประเทศฝรั่งเศส ใน พ.ศ. 2463 โดยเข้าศึกษาวิชากฎหมายที่มหาวิทยาลัยกอง (Université de Caen) จนสอบไล่ได้ปริญญารัฐเป็น "บาเชอลิเอร์" กฎหมาย (bachelier en droit) และได้ปริญญารัฐเป็น "ลิซองซิเอ" กฎหมาย (Licencié en Droit) ตามลำดับ ปรีดีสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกสาขานิติศาสตร์ จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยปารีส พ.ศ. 2469 ด้วยคะแนนเกียรตินิยมดีมาก (trés bien) นับเป็นคนไทยคนแรกที่ได้ปริญญาเอกแห่งรัฐ (doctorat d'état) เป็น "ดุษฎีบัณฑิตกฎหมาย" (docteur en droit) ฝ่ายนิติศาสตร์ (sciences juridiques) นอกจากนี้เขายังสอบไล่ได้ประกาศนียบัตรการศึกษาชั้นสูงในสาขาเศรษฐศาสตร์การเมือง (diplôme d'études supérieures d'économie politique) อีกด้วยการสมรสและครอบครัว การสมรสและครอบครัว. ปรีดีสมรสกับ พูนศุข ณ ป้อมเพชร์ ธิดา มหาอำมาตย์ตรี พระยาชัยวิชิตวิศิษฎ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร) กับ คุณหญิงเพ็ง ชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (สุวรรณศร) เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 มีบุตร-ธิดาด้วยกันทั้งหมด 6 คน คือ1. นางสาวลลิตา พนมยงค์ (ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) 2. นายปาล พนมยงค์ สมรสกับ นางเลิศศรี พนมยงค์ (จตุรพฤกษ์) 3. นางสาวสุดา พนมยงค์ 4. นายศุขปรีดา พนมยงค์ สมรสกับ นางจีรวรรณ พนมยงค์ (วรดิลก) 5. นางดุษฎี พนมยงค์ บุญทัศนกุล สมรสกับ นายชาญ บุญทัศนกุล 6. นางวาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ สมรสกับ นายสุรพันธ์ สายประดิษฐ์หน้าที่การงานก่อนเข้าสู่การเมือง หน้าที่การงานก่อนเข้าสู่การเมือง. เมื่อกลับถึงกรุงเทพมหานครใน พ.ศ. 2470 ปรีดีเริ่มทำงานในตำแหน่งผู้พิพากษาประจำกระทรวงยุติธรรม ต่อมาได้เลื่อนตำแหน่งเป็นผู้ช่วยเลขานุการกรมร่างกฎหมาย (ปัจจุบันคือสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา) และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น "หลวงประดิษฐ์มนูธรรม" เมื่อ พ.ศ. 2471 ขณะมีอายุ 28 ปี ต่อมาใน พ.ศ. 2475 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการกรมร่างกฎหมาย (ต่อมาได้ลาออกจากบรรดาศักดิ์พร้อมกับคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 ใน พ.ศ. 2485 และกลับไปใช้ชื่อเดิมคือ นายปรีดี พนมยงค์) ในช่วงที่รับราชการในกระทรวงยุติธรรมนี้ ปรีดีได้รวบรวมกฎหมายไทยตั้งแต่แรกจนถึงปัจจุบันซึ่งอยู่ในสภาพกระจัดกระจายให้มารวมเป็นเล่มเดียว ใช้ชื่อว่า “ประชุมกฎหมายไทย” และได้รับการตีพิมพ์ใน พ.ศ. 2473 ที่โรงพิมพ์นิติสาสน์ซึ่งเป็นกิจการส่วนตัวของเขาเอง หนังสือเล่มนี้ได้รับความนิยมและสร้างรายได้ให้แก่ปรีดีเป็นอย่างมาก นอกจากงานที่กรมร่างกฎหมายแล้ว ปรีดียังเป็นอาจารย์ผู้สอนที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม ในชั้นแรกได้สอนวิชากฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ว่าด้วยลักษณะหุ้นส่วน บริษัทและสมาคม ต่อมาได้สอนวิชากฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล ลูกศิษย์ของเขาในช่วงดังกล่าวนี้ได้แก่ สัญญา ธรรมศักดิ์ จิตติ ติงศภัทิย์ ดิเรก ชัยนาม เสริม วินิจฉัยกุล เสวต เปี่ยมพงศ์สานต์ ไพโรจน์ ชัยนาม จินดา ชัยรัตน์ โชติ สุวรรณโพธิ์ศรี และศิริ สันตะบุตร ใน พ.ศ. 2474 ปรีดีเป็นคนแรกที่เริ่มสอนวิชากฎหมายปกครอง (Droit Administratif) กล่าวกันว่าวิชากฎหมายปกครองนี้ เป็นวิชาที่สร้างชื่อเสียงแก่ปรีดีเป็นอย่างมาก เพราะสาระของวิชานี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชากฎหมายมหาชน ซึ่งอธิบายถึงหลักการแบ่งแยกอำนาจอธิปไตยอันเป็นหัวใจของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ในขณะที่ประเทศไทยยังคงปกครองอยู่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในขณะเดียวกัน ก็ได้อาศัยการสอนที่โรงเรียนดังกล่าว ปลุกจิตสำนึกนักศึกษาให้สนใจเป็นขั้น ๆ ถึงความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนระบบการปกครองจากระบบเดิมให้เป็นระบบราชาธิปไตยภายใต้ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินประชาธิปไตย นอกจากนี้ยังได้เปิดอบรมทบทวนวิชากฎหมายที่บ้านถนนสีลมเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์กับนักศึกษาให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น จึงมีลูกศิษย์ลูกหาเข้าร่วมเป็นสมาชิกและผู้สนับสนุนคณะราษฎรในเวลาต่อมาหลายคนบทบาททางการเมืองก่อนสงครามโลกครั้งที่สองการเปลี่ยนแปลงการปกครอง บทบาททางการเมืองก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง. การเปลี่ยนแปลงการปกครอง. ในขณะที่อยู่ในประเทศฝรั่งเศส ปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมกับเพื่อนอีก 6 คน ประชุมอย่างเป็นทางการครั้งแรกเพื่อก่อตั้ง "คณะราษฎร" เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 ณ หอพักแห่งหนึ่งย่าน "Rue Du Sommerard" กรุงปารีส ผู้ร่วมประชุมประกอบด้วย ร.ท.ประยูร ภมรมนตรี, ร.ท.แปลก ขิตตะสังคะ, ร.ต.ทัศนัย มิตรภักดี, ภก.ตั้ว ลพานุกรม, หลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี), นายแนบ พหลโยธิน โดยมีวัตถุประสงค์คือ เปลี่ยนการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และการดำเนินเพื่อให้สยามบรรลุหลัก 6 ประการ คือ1. จะต้องรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย เช่น เอกราชในทางการเมือง ในทางศาล ในทางเศรษฐกิจ ฯลฯ ของประเทศไว้ให้มั่นคง 2. จะรักษาความปลอดภัยในประเทศ ให้การประทุษร้ายต่อกันลดน้อยลงให้มาก 3. จะต้องบำรุงความสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะจัดหางานให้ราษฎรทำ จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก 4. จะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน ไม่ใช่ให้พวกเจ้ามีสิทธิยิ่งกว่าราษฎรเช่นที่เป็นอยู่ 5. จะต้องให้ราษฎรได้มีเสรีภาพ มีความเป็นอิสระ เมื่อเสรีภาพนี้ไม่ขัดต่อหลัก 4 ประการดังกล่าวข้างต้น 6. จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ปรีดีร่วมกับสมาชิกคณะราษฎรที่ประกอบด้วยกลุ่มทหารบก ทหารเรือ และพลเรือน ยึดอำนาจการปกครองประเทศจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองได้สำเร็จโดยไม่มีการเสียเลือดเนื้อ หลังจากนั้นคณะราษฎรโดยปรีดี พนมยงค์ ได้จัดให้มีการประชุมระหว่างคณะราษฎร และเสนาบดี ปลัดทูลฉลอง ขึ้น ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เพื่อชี้แจงจุดประสงค์ หลักการระบอบใหม่ กฎหมายพระธรรมนูญการปกครองแผ่นดินโดยย่อ และขอความร่วมมือในการบริหารราชการแผ่นดินต่อไปการวางรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย การวางรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย. ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปรีดี พนมยงค์ ถือเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดวางรูปแบบการปกครองในระบอบใหม่ เป็นผู้ให้กำเนิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศ โดยเป็นผู้ร่างพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ที่ประกาศใช้เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 พร้อมกันนั้นยังมีบทบาทสำคัญในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 อันเป็นรัฐธรรมนูญถาวรฉบับแรกของสยาม ที่ใช้เป็นบรรทัดฐานของการปกครองในระบอบใหม่ ในขณะเดียวกัน ปรีดีก็ได้รับแต่งตั้งจากสภาผู้แทนราษฎรให้เป็นเลขาธิการคนแรกของสภาผู้แทนราษฎรสยาม ด้วยตำแหน่งดังกล่าว ทำให้เขามีบทบาทด้านนิติบัญญัติในการวางหลักสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคให้แก่ราษฎร โดยเป็นผู้ยกร่างพระราชบัญญัติการเลือกตั้งฉบับแรก และเป็นผู้ริเริ่มให้สตรีมีสิทธิ์ในการออกเสียงเลือกตั้งและสมัครรับเลือกตั้งผู้แทนราษฎรได้เช่นเดียวกับเพศชาย และจากการที่ได้ไปศึกษาในประเทศฝรั่งเศส ปรีดีจึงสนับสนุนแนวคิดเรื่องศาลปกครอง และก็เป็นผู้นำเอาวิชา "กฎหมายปกครอง" (droit administratif) มาสอนเป็นคนแรก ณ โรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม แนวคิดดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความต้องการให้ราษฎรสามารถตรวจสอบฝ่ายปกครองได้ และมีสิทธิในทางการเมืองเท่าเทียมกับข้าราชการอย่างแท้จริง เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้วเขาจึงผลักดันให้รัฐบาลยกฐานะกรมร่างกฎหมายและสถาปนาขึ้นเป็น "คณะกรรมการกฤษฎีกา" ทำหน้าที่ยกร่างกฎหมายและเป็นที่ปรึกษากฎหมายของแผ่นดิน ทั้งยังพยายามผลักดันให้คณะกรรมการกฤษฎีกาทำหน้าที่ศาลปกครองอีกด้วย แต่ก็ทำไม่สำเร็จ เนื่องจากวัฒนธรรมในทางอำนาจนิยมของรัฐไทยยังมีอยู่หนาแน่น ความพยายามในการตั้งศาลปกครองของปรีดีจึงประสบอุปสรรคมาโดยตลอด ใน พ.ศ. 2476 ได้เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจ หรือที่เรียกกันว่า "สมุดปกเหลือง" ต่อรัฐบาลเพื่อใช้เป็นนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ ตามหลัก 6 ประการของคณะราษฎร โดยดำเนินเศรษฐกิจแบบสหกรณ์ แต่ไม่ทำลายกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของเอกชน ซึ่งเขาได้ชี้แจงไว้ว่า ปรีดียังได้วางหลักการประกันสังคม คือ ให้การประกันแก่ราษฎรทั้งหลายตั้งแต่เกิดจนตาย ที่จะได้รับความอุปการะจากรัฐบาล หากไม่สามารถทำงานได้ ซึ่งระบุไว้อย่างชัดเจนในหมวดที่ 3 แห่งเค้าโครงการเศรษฐกิจ ในชื่อร่าง "พระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร" แต่แนวความคิดดังกล่าวถูกมองว่าเป็นคอมมิวนิสต์ และถูกคัดค้านอย่างหนักจากกลุ่มอนุรักษนิยมการกระจายอำนาจการปกครอง การกระจายอำนาจการปกครอง. ปรีดีเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการร่างพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 เพื่อให้รูปแบบและระเบียบการบริหารราชการแผ่นดินดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และมีการกระจายอำนาจการปกครองสู่ท้องถิ่น เมื่อเข้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2476–พ.ศ. 2478) ก็ได้ริเริ่มให้มีการจัดตั้ง "เทศบาล" ทั่วราชอาณาจักรสยาม ตาม พระราชบัญญัติเทศบาล โดยมุ่งหวังให้การปกครองทัองถิ่นเป็นรากฐานสำคัญของระบอบประชาธิปไตย และได้กวดขันให้มีการเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านและกำนันตาม พระราชบัญญัติปกครองท้องที่ และจัดตั้งกรมโยธาเทศบาลเพื่อสอดคล้องกับการปกครองเทศบาลและสร้างทางท้องที่หลายจังหวัด นอกจากนี้เขายังได้สร้างโรงพยาบาลหลายแห่ง รวมทั้งจัดให้มีเรือพยาบาลตามลำน้ำโขงโดยใช้สลากกินแบ่งของท้องที่ สร้างฝายและพนังหลายแห่งเพื่อช่วยชาวนาและเกษตรกร สร้างทัณฑนิคมเพื่อให้ผู้พ้นโทษแล้วมีที่ดินของตน ฯลฯด้านพระพุทธศาสนา ด้านพระพุทธศาสนา. ปรีดีเป็นผู้มีบทบาทในการเปลี่ยนแปลง พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ จากฉบับ ร.ศ. 121 (พ.ศ. 2445) มาเป็น พระราชบัญญัติสงฆ์ พ.ศ. 2484 ทำให้การปกครองสงฆ์เป็นประชาธิปไตย อนุวัตรคล้อยตามการปกครองของบ้านเมืองไปด้วย แต่ พระราชบัญญัติสงฆ์ พ.ศ. 2484 ใช้ได้เพียง 20 ปี ก็มีเหตุการณ์ไม่ราบรื่นเกิดขึ้นในสังฆมณฑลอย่างจงใจ จนนำคณะสงฆ์กลับไปสู่การปกครองระบอบเผด็จการโดยคณะเดียว ภายใต้ พระราชบัญญัติสงฆ์ พ.ศ. 2505ด้านการศึกษา ด้านการศึกษา. ในขณะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปรีดี พนมยงค์ ได้สถาปนา "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" (มธก.) ขึ้นเมื่อ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2477] และได้รับแต่งตั้งเป็น "ผู้ประศาสน์การ" (พ.ศ. 2477–พ.ศ. 2490) คนแรกและคนเดียวของมหาวิทยาลัย เพื่อสนองเจตนารมณ์ของคณะราษฎรที่ว่า "จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร" ด้วยเห็นว่าในขณะนั้น สถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่มีอยู่มิได้เปิดกว้างเพื่อชนส่วนใหญ่ ดังนั้นมหาวิทยาลัยใหม่ตามแนวความคิดของเขา จึงเป็นมหาวิทยาลัยที่เปิดกว้างเพื่อราษฎร เป็นตลาดวิชา ทุกคนมีสิทธิเสรีภาพในการศึกษาเล่าเรียนเท่าเทียมกัน ปรีดีกล่าวไว้ในวันสถาปนามหาวิทยาลัยว่า มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในระยะแรกมิได้ใช้งบประมาณแผ่นดิน หากอาศัยเงินที่มาจากค่าสมัครเข้าเรียนของนักศึกษาทั่วราชอาณาจักรและดอกผลที่ได้มาจากธนาคารแห่งเอเชียเพื่อพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม ซึ่งปรีดีเป็นผู้ก่อตั้ง โดยให้มหาวิทยาลัยถือหุ้นถึง 80% นอกจากนี้ปรีดียังได้ยกกิจการโรงพิมพ์นิติสาส์นของเขาให้แก่มหาวิทยาลัยเพื่อพิมพ์เอกสารตำราคำสอนแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยดังกล่าวได้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทย ยิ่งไปกว่านั้นยังมีบทบาทสำคัญในการต่อต้านสงครามและต่อสู้เพื่อสันติภาพ โดยมหาวิทยาลัยเป็นที่ตั้งศูนย์บัญชาการใหญ่ของขบวนการเสรีไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ภายหลังจากที่ปรีดีต้องลี้ภัยทางการเมือง รัฐบาลได้เปลี่ยนชื่อมหาวิทยาลัย โดยตัดคำว่า "วิชา" และ "การเมือง" ออก เหลือเพียงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อไม่ให้นักศึกษายุ่งเกี่ยวกับการเมือง ทั้งยังขายหุ้นทั้งหมดของมหาวิทยาลัย จนไม่มีความสามารถที่จะเลี้ยงตัวเองได้ กลายเป็นมหาวิทยาลัยปิดที่ต้องอาศัยงบประมาณจากรัฐบาลด้านการต่างประเทศ ด้านการต่างประเทศ. เมื่อภารกิจด้านการปกครองในกระทรวงมหาดไทยเข้ารูปเข้ารอยแล้ว ปรีดี พนมยงค์ ได้ก้าวเข้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (พ.ศ. 2478–พ.ศ. 2481) ในเวลานั้นสยามยังอยู่ภายใต้บังคับของสนธิสัญญาระหว่างประเทศอันไม่เป็นธรรม ที่รัฐบาลสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ได้ถูกบังคับให้ทำไว้กับประเทศต่าง ๆ 13 ประเทศ ในนามของ "สนธิสัญญาทางไมตรีพาณิชย์และการเดินเรือ" ใน พ.ศ. 2478 หลังจากได้ประกาศใช้ประมวลกฎหมายแล้ว รัฐบาลเห็นว่าถึงเวลาแล้วที่ควรจะหาทางยกเลิกสนธิสัญญาที่ไม่เสมอภาค และทวงอำนาจอธิปไตยของประเทศกลับคืนมา โดยยึดหลักเอกราชทั้งในทางการเมือง การศาล และเศรษฐกิจ ตลอดจนหาทางลดอัตราดอกเบี้ยในการกู้ยืมเงินที่รัฐบาลเก่าได้ทำสัญญาไว้ ปรีดี พนมยงค์ และคณะจึงออกเดินทางไปพบปะเจรจากับผู้นำประเทศมหาอำนาจต่าง ๆ ในยุโรป อเมริกา และเอเชีย อาทิ เบนิโต มุสโสลินี ผู้นำฟาสซิสต์แห่งอิตาลี ปีแอร์ ลาวาล นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส ฮจาล์ มาร์ ซาคท์ตัวแทนของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำนาซีเยอรมัน เซอร์ แซมมวล ฮอร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศอังกฤษ คอร์เดล ฮัลล์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา จักรพรรดิฮิโรฮิโตแห่งญี่ปุ่น และบุคคลสำคัญอื่น ๆ ในหลายประเทศ ตลอดระยะเวลา 3 ปีที่ดำรงตำแหน่ง ปรีดีได้ใช้ความพยายามทางการทูตเจรจาแก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคที่สยามได้ทำไว้กับประเทศมหาอำนาจ 13 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ อังกฤษ สเปน โปรตุเกส เดนมาร์ก สวีเดน อิตาลี เบลเยียม และนอร์เวย์ ตามลำดับ ซึ่งประเด็นหลักในการแก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคมีอยู่ 2 ประเด็น คือ1. สิทธิสภาพนอกอาณาเขต คือคนในบังคับของต่างประเทศไม่ต้องขึ้นต่อศาลสยาม ทำให้สยามสูญเสียเอกราชในทางศาล 2. ภาษีร้อยชักสาม คือรัฐบาลสยามสามารถเรียกเก็บภาษีศุลกากรขาเข้าได้เพียงไม่เกินร้อยละ 3 ทำให้สยามขาดรายได้เข้าประเทศเท่าที่ควรจะได้ นับเป็นการสูญเสียเอกราชในทางเศรษฐกิจ โดยใช้ยุทธวิธีบอกเลิกสนธิสัญญาไม่เสมอภาคกับประเทศคู่สัญญาเหล่านั้น และได้ยื่นร่างสนธิสัญญาฉบับใหม่โดยอาศัยหลัก "ดุลยภาพแห่งอำนาจ" จนสามารถยกเลิกสนธิสัญญาดังกล่าวเป็นผลสำเร็จ ทำให้สยามได้เอกราชทางศาลและเอกราชทางเศรษฐกิจกลับคืนมา และมีสิทธิเสมอภาคกับนานาประเทศทุกประการ หนังสือพิมพ์สเตรตไทม์ของสิงคโปร์ กล่าวยกย่องปรีดีไว้ในบทบรรณาธิการว่า "ดอกเตอร์ปรีดี พนมยงค์ เสมือนหนึ่งเป็น แอนโทนี อีเดน" ผู้เป็นรัฐมนตรีต่างประเทศคนสำคัญของรัฐบาลอังกฤษด้านการคลัง ด้านการคลัง. เมื่อปรีดีเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (พ.ศ. 2481–พ.ศ. 2484) ได้ตั้งปณิธานที่จะใช้เครื่องมือทางการคลังสร้างความมั่นคงให้แก่ชาติ สร้างความเป็นธรรมและความสุขสมบูรณ์แก่ราษฎร โดยแถลงต่อรัฐสภาว่าจะปรับปรุงระบบการเก็บภาษีให้เป็นธรรมแก่สังคม และได้บรรลุภารกิจในด้านการจัดเก็บภาษีอากรที่สำคัญ ดังนี้1. ช่วยเหลือราษฎรที่ต้องแบกรับภาษีที่ไม่เป็นธรรม ด้วยการยกเลิกเงินภาษีรัชชูปการ และอากรค่านา (เงินส่วย) ซึ่งชาวนาต้องเสียแก่เจ้าศักดินา เป็นต้น 2. จัดระบบเก็บภาษีอากรที่เป็นธรรมในระบอบประชาธิปไตยโดนสถาปนา "ประมวลรัษฎากร" เป็นแบบฉบับครั้งแรกในประเทศไทย ซึ่งรวมบทบัญญัติเกี่ยวกับภาษีอากรทางตรง 3. ออก พรบ.ภาษีเงินได้ ซึ่งเป็นภาษีก้าวหน้า กล่าวคือผู้ใดมีรายได้มากก็เสียภาษีมากหากมีรายได้น้อยก็เสียภาษีน้อย และผู้ใดบริโภคเครื่องบริโภคที่ไม่จำเป็นแก่การดำรงชีพก็ต้องเสียภาษีอากรมากตามลำดับ ในด้านการสร้างเสถียรภาพทางการเงินและการคลังของประเทศ ปรีดีคาดการณ์ว่าอาจเกิดสงครามโลกครั้งที่สองขึ้นในไม่ช้า เงินปอนด์สเตอร์ลิงซึ่งสยามประเทศใช้เป็นทุนสำรองเงินตราอาจจะลดค่าลงได้ เขาพิจารณาอย่างรอบคอบแล้วเห็นว่าภายใต้สถานการณ์ของโลกที่มีความไม่แน่นอนนั้น การเก็บรักษาทุนสำรองของชาติเอาไว้เป็นทองคำแท่งน่าจะเป็นนโยบายที่เหมาะสม และเห็นว่าอังกฤษซึ่งอยู่ในสถานะสงครามกับเยอรมนีในยุโรปแล้วตั้งแต่ปี 2482 มีแนวโน้มว่าจะต้องเผชิญหน้ากับญี่ปุ่นในเอเชียแปซิฟิกด้วยในอนาคตอันใกล้ อันจะมีผลกระทบต่อสถานภาพของเงินปอนด์สเตอร์ลิงอย่างหลีกเลี่ยงไม่พ้น จึงได้จัดการเอาเงินปอนด์ที่เป็นเงินทุนสำรองเงินตราจำนวนหนึ่งซื้อทองคำแท่งหนัก 1 ล้าน ออนซ์ ในราคาออนซ์ละ 35 ดอลลาร์สหรัฐ นำมาเก็บไว้ในห้องนิรภัยกระทรวงการคลัง นอกจากนี้ยังได้โอนเงินปอนด์เพื่อแลกซื้อเงินดอลลาร์และทองคำแท่งเก็บไว้ที่สหรัฐอเมริกาอีกส่วนหนึ่ง ทำให้เสถียรภาพของค่าเงินบาทในเวลานั้นมั่นคงที่สุดแม้ว่าเป็นระยะใกล้จะเกิดสงครามเต็มทีแล้ว ทองคำแท่งจำนวนดังกล่าวยังคงเก็บรักษาไว้เป็นทุนสำรองเงินบาทอยู่จนทุกวันนี้ เมื่อได้ปรับปรุงระบบภาษีอากรให้เกิดความเป็นธรรมแก่สังคมขึ้นในระดับหนึ่งแล้ว อีกทั้งระบบการเงินของประเทศก็มีความมั่นคงด้วยทุนสำรองเงินตราอันประกอบด้วยทองคำและเงินตราต่างประเทศในสกุลที่ทั่วโลกยอมรับ ปรีดีในฐานะผู้รับผิดชอบบริหารนโยบายการเงินการคลังของประเทศ ก็ได้รื้อฟื้นเรื่องการจัดตั้งธนาคารกลางหรือธนาคารแห่งชาติ ซึ่งได้เคยปรารภไว้แล้วในเค้าโครงการเศรษฐกิจมาพิจารณาอย่างจริงจัง โดยจัดตั้งสำนักงานธนาคารชาติไทยขึ้นก่อน และเร่งฝึกพนักงานเจ้าหน้าที่ไว้ให้พร้อมในการบริหารธนาคารชาติ ต่อมาจึงได้จัดตั้ง "ธนาคารชาติไทย" ขึ้น ใน พ.ศ. 2483 ปัจจุบันคือ "ธนาคารแห่งประเทศไทย" เพื่อทำหน้าที่เป็นธนาคารชาติของรัฐโดยสมบูรณ์บทบาทในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง บทบาทในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง. ก่อนสงครามโลกครั้งที่สองจะอุบัติขึ้น ปรีดี พนมยงค์ เล็งเห็นว่าลัทธิเผด็จการทหารกำลังจะจุดชนวนให้เกิดสงครามโลก จึงอำนวยการสร้างภาพยนตร์เรื่อง "พระเจ้าช้างเผือก" เพื่อสื่อทัศนะสันติภาพและคัดค้านการทำสงครามผ่านไปยังนานาประเทศ โดยแสดงจุดยืนอย่างแจ่มชัดด้วยพุทธภาษิตที่ปรากฏในภาพยนตร์ที่ว่า "นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ" (ไม่มีสุขใดเสมอด้วยความสงบสันติ) ยิ่งไปกว่านั้นเขายังสื่อให้เห็นว่าชาวสยามพร้อมที่จะต่อสู้เพื่อต่อด้านสงครามรุกรานอย่างมีศักดิ์ศรีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์. วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2484 สภาผู้แทนราษฎรมีมติแต่งตั้งคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลขึ้นใหม่ แทนเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ซึ่งถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2481 ประกอบด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และปรีดี พนมยงค์ ต่อมา พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ทรงลาออกจากตำแหน่ง สภาผู้แทนราษฎรจึงมีมติแต่งตั้งปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แต่ผู้เดียว (1 สิงหาคม พ.ศ. 2487–20 กันยายน พ.ศ. 2488) และได้รับแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ต่อไปอีก เนื่องจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงศึกษาอยู่ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ไม่สามารถเสด็จนิวัติประเทศไทยได้หัวหน้าขบวนการเสรีไทย หัวหน้าขบวนการเสรีไทย. ปลาย พ.ศ. 2484 สงครามมหาเอเชียบูรพาปะทุขึ้นเมื่อกองทัพญี่ปุ่นเปิดฉากโจมตีฐานทัพเรือเพิร์ลฮาร์เบอร์ของสหรัฐอเมริกา และรวมไปถึงดินแดนในครอบครองของอังกฤษและเนเธอร์แลนด์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมา เช้ามืดวันที่ 8 ธันวาคม ญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกตามแนวชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทย และส่งกองกำลังภาคพื้นดินบุกเข้าประเทศไทยทางอินโดจีนฝรั่งเศส รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ตกลงทำสัญญาเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นเพื่อให้กองทัพญี่ปุ่นเดินทัพผ่านแผ่นดินไทย ในที่สุดก็ร่วมวงไพบูลย์กับญี่ปุ่น และประกาศสงครามต่อฝ่ายสัมพันธมิตรอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 อันเป็นการละเมิดต่อประกาศพระบรมราชโองการให้ปฏิบัติตามความเป็นกลาง พ.ศ. 2482 ปรีดี พนมยงค์ ไม่เห็นด้วยกับการให้ญี่ปุ่นละเมิดอธิปไตยและแสดงจุดยืนให้ปรากฏโดยเป็นผู้นำในการจัดตั้งองค์การต่อต้านญี่ปุ่น หรือต่อมาเรียกว่า "ขบวนการเสรีไทย" ประกอบด้วยคนไทยทุกชั้นวรรณะ ทั้งที่อยู่ในประเทศและอยู่ต่างประเทศ เขาไม่ยอมลงนามในประกาศสงครามนั้นด้วยเหตุผลสำคัญที่ว่า หากลงนามไปแล้วก็ยากที่จะให้ฝ่ายสัมพันธมิตรเชื่อถือการปฏิบัติการของขบวนการเสรีไทย กระแสความไม่พอใจต่อการตัดสินใจของรัฐบาลจอมพล ป. ได้พุ่งขึ้นอย่างรวดเร็วในหมู่ชนทุกเหล่า แต่รัฐบาลถือว่าตนเองมีความชอบธรรมในการปราบปรามผู้ที่ไม่เห็นด้วย อีกทั้งกองทัพญี่ปุ่นที่เข้ามาประจำการในประเทศ ก็ใช้ท่าทีที่แข็งกร้าวต่อผู้ที่ต้องสงสัยว่าดำเนินกิจกรรมต่อต้านกองทัพญี่ปุ่น ดังนั้นปฏิบัติการต่อต้านรัฐบาลและญี่ปุ่นผู้รุกรานจึงต้องเป็นงาน "ใต้ดิน" ที่ปิดลับ ปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และหัวหน้าขบวนการเสรีไทยในรหัสนามว่า "รู้ธ" (Ruth) ทำงานในสองบทบาทตลอดสงครามมหาเอเชียบูรพา โดยถือความลับสุดยอดเป็นหัวใจของการปฏิบัติงาน คณะผู้ก่อตั้งขบวนการเสรีไทยได้กำหนดภารกิจที่จะต้องปฏิบัติไว้ในชั้นแรกสองประการ คือ1. ต่อสู้กับญี่ปุ่นผู้รุกราน 2. ปฏิบัติการให้ฝ่ายสัมพันธมิตรรับรองเจตนารมณ์ที่แท้จริงของราษฎรไทย ต่อมาเมื่อรัฐบาลจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ได้ประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐอเมริกา จึงทำให้ภารกิจขององค์การเสรีไทยถูกได้เพิ่มขึ้นมาอีกประการหนึ่ง คือ 3. ให้สัมพันธมิตรรับรองว่าประเทศไทยไม่ตกเป็นฝ่ายแพ้สงครามร่วมกับญี่ปุ่น ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2488 ปรีดีแจ้งให้สัมพันธมิตรทราบว่า เสรีไทยจำนวน 8 หมื่นคนทั่วประเทศพร้อมที่จะลุกฮือขึ้นเพื่อทำสงครามกับทหารญี่ปุ่นอย่างเปิดเผย แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ร้องขอให้ชะลอแผนนี้ไว้ก่อน ด้วยเหตุผลทางแผนยุทธศาสตร์ของฝ่ายสัมพันธมิตร ในที่สุดฝ่ายญี่ปุ่นก็ยอมแพ้สงครามอย่างไม่มีเงื่อนไขเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488 เมื่อญี่ปุ่นได้ยอมจำนน ฝ่ายสัมพันธมิตรจึงได้แจ้งให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ซึ่งเป็นหัวหน้าขบวนการเสรีไทยว่า สัมพันธมิตรไม่ถือว่าประเทศไทยเป็นผู้แพ้สงคราม ประเทศไทยไม่ต้องถูกยึดครอง รัฐบาลไทยไม่ต้องยอมจำนน กองทัพไทยไม่ต้องวางอาวุธ และให้รีบออกแถลงการณ์ปฏิเสธการประกาศสงครามระหว่างไทยกับสัมพันธมิตร เพื่อลบล้างข้อผูกพันทั้งหลายที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ทำไว้กับญี่ปุ่นประกาศสันติภาพ ประกาศสันติภาพ. วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ได้ออกประกาศสันติภาพในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ว่าการประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 เป็น "โมฆะ" ไม่ผูกพันประชาชนชาวไทย และประเทศไทยพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกับสหประชาชาติในการสถาปนาสันติภาพในโลกนี้ ต่อมารัฐบาลได้ประกาศให้วันที่ 16 สิงหาคม ของทุกปีเป็น "วันสันติภาพไทย" ภายหลังจากการประกาศสันติภาพ ตัวแทนพลพรรคเสรีไทยจากทั่วประเทศกว่า 8, 000 นาย ได้เดินสวนสนามผ่านอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน โดยมีปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และหัวหน้าขบวนการเสรีไทยเป็นประธาน เมื่อสิ้นสุดภารกิจลงแล้ว เขาได้ประกาศยกเลิกขบวนการเสรีไทย โดยมีสุนทรพจน์บางตอนว่า เมื่อบ้านเมืองสงบเรียบร้อยดีแล้วปรีดี พนมยงค์ จึงขออัญเชิญสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จนิวัติประเทศไทยเพื่อทรงบริหารราชการแผ่นดินด้วยพระองค์เองต่อไป โดยได้เสด็จกลับถึงพระนครวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัสตอบปรีดีที่ไปเฝ้ารับเสด็จดังนี้บทบาททางการเมืองหลังสงครามโลกครั้งที่สองรัฐบุรุษอาวุโส บทบาททางการเมืองหลังสงครามโลกครั้งที่สอง. รัฐบุรุษอาวุโส. ด้วยคุณูปการที่เป็นผู้นำในการกอบกู้บ้านเมืองในยามคับขัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกย่องปรีดี พนมยงค์ ไว้ในฐานะ "รัฐบุรุษอาวุโส" ซึ่งถือได้ว่าเป็นตำแหน่งทางการเมืองอันทรงเกียรติสูงสุด ดังที่ปรากฏในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2488 ความว่า ในโอกาสนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ ซึ่งเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่สามัญชนพึงได้รับพระราชทาน แก่รัฐบุรุษอาวุโสปรีดี พนมยงค์ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2488ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี. ปรีดี พนมยงค์ ได้รับเลือกจากสภาผู้แทนราษฎรให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เขาได้ใช้ความรู้ความสามารถเจรจาต่อรองกับฝ่ายสัมพันธมิตรในปัญหาต่าง ๆ โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงข้อตกลงกับอังกฤษ เรื่องสัญญาสมบูรณ์แบบ และการเจรจาให้รัฐบาลสหรัฐยกเลิกคำสั่งเพิกถอนเงินซึ่งได้ถูกกักกันไว้ในสหรัฐ ให้ประเทศไทยสามารถแก้ไขสถานะผู้แพ้สงครามได้สำเร็จอย่างละมุนละม่อม สามารถเข้าเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติลำดับที่ 55 วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคต รัฐบาลปรีดีที่เพิ่งชนะเลือกตั้งหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 จึงขอความเห็นชอบต่อรัฐสภาให้อัญเชิญพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ขึ้นครองราชย์สืบสันตติวงศ์ต่อไป เมื่อสภามีมติเห็นชอบแล้ว ปรีดีก็ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ทั้งที่เพิ่งได้รับโปรดเกล้าฯ เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2489 แต่สภาผู้แทนราษฎรก็สนับสนุนให้ปรีดีดำรงตำแหน่งตามเดิม กรณีสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ได้ทำให้ศัตรูทางการเมืองของปรีดี ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มทหารสาย จอมพล ป. พิบูลสงครามที่สูญเสียอำนาจหลังสงครามโลกครั้งที่สอง พรรคการเมืองฝ่ายค้านนำโดย พรรคประชาธิปัตย์ และกลุ่มอำนาจเก่า ฉวยโอกาสนำมาใช้ทำลายปรีดีทางการเมือง โดยการกระจายข่าวไปตามหนังสือพิมพ์ ร้านกาแฟ และสถานที่ต่าง ๆ รวมทั้งส่งคนไปตะโกนในศาลาเฉลิมกรุงว่า "ปรีดีฆ่าในหลวง" และนำไปสู่การลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของเขาในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2489 โดยหลังจากนั้น หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มปรีดี ให้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน ต้นเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2489 ภายหลังจากที่ปรีดีลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแล้ว ก็ได้รับเชิญจากรัฐบาลหลายประเทศให้ไปเยือนประเทศเหล่านั้น รัฐบาลไทยจึงมอบหมายให้เขาเป็นหัวหน้าคณะทูตสันถวไมตรีเดินทางรอบโลกเพื่อเจริญสัมพันธไมตรีและพบปะกับผู้นำนานาประเทศ โดยได้ไปเยือนประเทศจีนเป็นแห่งแรก จากนั้นก็ไปฟิลิปปินส์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน และนอร์เวย์ รวมทั้งสิ้นเก้าประเทศ และกลับมาถึงกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490 รวมเวลาที่ออกไปปฏิบัติภารกิจในต่างประเทศ 3 เดือนเต็มลี้ภัยรัฐประหาร ลี้ภัยรัฐประหาร. ต่อมาในวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 คณะรัฐประหาร ประกอบด้วย พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ พ.อ.กาจ กาจสงคราม พ.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ พ.อ.สฤษดิ์ ธนะรัชต์ พ.อ.ถนอม กิตติขจร พ.ท.ประภาส จารุเสถียร และ ร.อ.สมบูรณ์ (ชาติชาย) ชุณหะวัณ ได้ยึดอำนาจการปกครองประเทศ จากรัฐบาลหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ ด้วยสาเหตุที่รัฐบาลไม่สามารถคลี่คลายคดีสวรรคตลงได้ ประกอบกับการลดบทบาทของกองทัพ และปัญหาทางเศรษฐกิจ หลังจากยึดอำนาจสำเร็จ คณะรัฐประหารได้นำกำลังทหารพร้อมรถถังบุกยิงทำเนียบท่าช้างวังหน้าซึ่งปรีดีและครอบครัวอาศัยอยู่ แล้วพยายามจะจับกุมตัวปรีดี แต่เขาก็หลบหนีไปได้ภายใต้การอารักขาของทหารเรือและได้อาศัยฐานทัพเรือสัตหีบเป็นที่หลบภัยอยู่ชั่วระยะหนึ่ง เมื่อพิจารณาเห็นว่ายังไม่พร้อมที่จะต่อต้านคณะรัฐประหาร จึงได้ลี้ภัยการเมืองไปยังประเทศสิงคโปร์ จนถึงปลายเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2491 จึงออกเดินทางต่อไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน ต่อมา ใน พ.ศ. 2492 ปรีดี พนมยงค์ กลับมาประเทศไทยเพื่อยึดอำนาจคืนจากรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในเหตุการณ์ "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 แต่กระทำไม่สำเร็จ (เรียกกันว่า "กบฏวังหลวง") ทำให้ปรีดี พนมยงค์ ต้องเดินทางออกจากประเทศไทยไปพำนักยังประเทศสิงคโปร์เพื่อจะไปสู่สหรัฐอเมริกา แต่ด้วยเหตุที่มีปัญหาเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง ทำให้ปรีดีต้องเดินทางไปยังประเทศจีนซึ่งขณะนั้นยังอยู่ภายใต้รัฐบาลก๊กมินตั๋งแทน ต่อมา พ.ศ. 2513 จึงได้เดินทางต่อไปยังกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส และได้พำนักอยู่ที่นั่นตลอดมาจนเสียชีวิตปัจฉิมวัย ปัจฉิมวัย. หลายปีที่ปรีดีลี้ภัยทางการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ ยังมีการกล่าวหาว่าปรีดีสมคบการปลงพระชนม์ในหลวงอยู่เป็นระยะ ๆ เขาจึงต้องฟ้องร้องผู้ใส่ความหมิ่นประมาทต่อศาลยุติธรรม ผลปรากฏว่าศาลตัดสินให้ชนะทุกคดี นอกจากนี้ โดยคำพิพากษาของศาลในกรณีฟ้องร้องรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีสกับพวก ในข้อหาร่วมกันละเมิดสิทธิของโจทก์ ปรีดีจึงได้รับความรับรองจากทางราชการในฐานะคนไทยโดยสมบูรณ์ตามกฎหมายทุกประการ และได้รับเงินบำนาญตลอดจนได้รับหนังสือเดินทางของไทย ขณะพำนักอยู่ในประเทศจีน ปรีดีได้มีโอกาสพบปะสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้นำพรรคและรัฐบาลจีนไม่ว่าจะเป็นประธานาธิบดีเหมา เจ๋อตง นายกรัฐมนตรีโจว เอินไหล จอมพลเฉินยี่ เติ้ง เสี่ยวผิง เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน นอกจากนี้ยังได้พบปะสนทนากับผู้นำกอบกู้เอกราชของชาติในอินโดจีน อาทิ ประธานาธิบดีโฮจิมินห์และนายกรัฐมนตรีฝ่ามวันดง แห่งเวียดนาม เจ้าสุภานุวงศ์ ประธานประเทศลาว เจ้าสุวรรณภูมา และพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กษัตริย์แห่งกัมพูชา โดยเฉพาะมิตรภาพระหว่างปรีดีกับประธานโฮจิมินห์นั้น ยืนยาวมาตั้งแต่สมัยที่เขาผู้นี้ต่อสู้กับฝรั่งเศส ต้นเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2513 โจวเอินไหลได้อำนวยความสะดวกให้ปรีดีเดินทางจากประเทศจีนไปยังกรุงปารีส ด้วยความช่วยเหลือจากนายกีโยม จอร์จ-ปีโก (Guillaume Georges- Picot) มิตรเก่าที่มีตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตถาวรของประเทศฝรั่งเศส และโดยได้รับความเห็นชอบจากประธานาธิบดี ชาร์ลส์ เดอ โกลล์ ปรีดีจึงได้พำนักอยู่ ณ ประเทศฝรั่งเศส ในช่วงปลายชีวิตอย่างสันติสุข ท่านเป็นผู้สนใจสนใจในพุทธศาสนา โดยเฉพาะหนังสือเรื่อง "กฎบัตรของพุทธบริษัท" ที่พุทธทาสภิกขุส่งไปให้นั้น ปรีดีจะพกในกระเป๋าเสื้อนอกติดตัวอยู่ตลอดเวลาตราบจนวาระสุดท้ายของชีวิต เวลา 11 นาฬิกาเศษ ของวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ณ บ้านอองโตนี ชานกรุงปารีส ปรีดี พนมยงค์ สิ้นใจด้วยอาการหัวใจวายขณะกำลังเขียนหนังสืออยู่ที่โต๊ะทำงานงานเขียน งานเขียน. ปรีดีเป็นผู้ใฝ่หาความรู้ทางด้านวิทยาการต่าง ๆ ทั้งสังคมศาสตร์ ขณะพำนักอยู่ในประเทศจีน ได้ศึกษาค้นคว้าเพื่อรู้แจ้งเห็นจริงทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติ รวมทั้งผลงานของเมธีทางด้านปรัชญาและสังคมศาสตร์ เช่น มาร์กซ์ เองเงิลส์ เลนิน สตาลิน และเหมา เจ๋อตุง ในเชิงเปรียบเทียบสภาพสังคมไทยทุกแง่ทุกมุม อาทิ ระบอบเศรษฐกิจ การเมือง ทัศนะสังคม ประวัติศาสตร์ ชนชาติ ศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณี แล้วได้เรียบเรียงเป็นบทความ ซึ่งได้ตีพิมพ์ในโอกาสต่อมา งานเขียนชิ้นสำคัญของเขาที่นำพุทธปรัชญามาวิเคราะห์วิวัฒนาการของมนุษยสังคมคือ "ความเป็นอนิจจังของสังคม" ซึ่งได้รับการตีพิมพ์หลายครั้งและเป็นที่สนใจของผู้ที่ต้องการศึกษาอยู่ตลอดมา เพราะข้อความที่เขียนอันเป็นสัจจะอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ทุกยุคทุกสมัย ผลงานงานเขียนบางส่วนของปรีดี ได้แก่- บันทึกข้อเสนอเรื่อง ขุดคอคอดกระ, กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501 - ชีวิตผันผวนของข้าพเจ้าและ 21 ปีที่ลี้ภัยในสาธารณรัฐราษฎรจีน (Ma vie mouvementee et mes 21 ans d' exil en Chine Populaire) - ความเป็นมาของชื่อ “ประเทศสยาม” กับ “ประเทศไทย” - จงพิทักษ์เจตนารมณ์ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของวีรชน 14 ตุลาคม - ประชาธิปไตย เบื้องต้นสำหรับสามัญชน - ประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญเบื้องต้นกับการร่างรัฐธรรมนูญ - ปรัชญาคืออะไร - “ความเป็นไปบางประการในคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์” ใน บางเรื่องเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศ์… - บางเรื่องเกี่ยวกับการก่อตั้งคณะราษฎรและระบบประชาธิปไตย - ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับเอกภาพของชาติและประชาธิปไตย - ความเป็นเอกภาพกับปัญหาสามจังหวัดภาคใต้, สหพันธ์นิสิตนักศึกษาชาวปักษ์ใต้แห่งประเทศไทย, 2517 - อนาคตของเมืองไทยกับสถานการณ์ของประเทศเพื่อนบ้าน, ประจักษ์การพิมพ์, 2518เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย. - พ.ศ. 2488 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ (น.ร.) รับพระราชทาน 11 ธันวาคม พ.ศ. 2488 - พ.ศ. 2488 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นสูงสุด ปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) รับพระราชทาน 9 ธันวาคม พ.ศ. 2488 - พ.ศ. 2484 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) รับพระราชทาน 19 มิถุนายน พ.ศ. 2484 - พ.ศ. 2480 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) รับพระราชทาน 13 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - พ.ศ. 2478 – เหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ รับพระราชทาน 21 เมษายน พ.ศ. 2478 - พ.ศ. 2481 – เหรียญดุษฎีมาลา เข็มราชการแผ่นดิน (ร.ด.ม. (ผ)) รับพระราชทาน 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 - พ.ศ. 2481 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 1 (อปร.1) รับพระราชทาน 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศการเชิดชูเกียรติวันสำคัญ การเชิดชูเกียรติ. วันสำคัญ. ทุกวันที่ 11 พฤษภาคมของทุกปีเป็นวันปรีดี พนมยงค์ ซึ่งเป็นวันคล้ายวันเกิดของปรีดี พนมยงค์ ในวาระครบรอบ 100 ปีชาตกาล เมื่อ ค.ศ. 2000 ปรีดีได้รับการประกาศยกย่องจากยูเนสโกให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก และได้มีการบรรจุชื่อไว้ในปฏิทินเฉลิมฉลองบุคคลสำคัญของยูเนสโกพันธุ์สัตว์ พันธุ์สัตว์. เมื่อ พ.ศ. 2546 ได้ค้นพบปลาปล้องทองปรีดี (Schistura pridii) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยเชียงดาว อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ โดยตั้งชื่อตามนามของปรีดี พนมยงค์ และ นายเอช.จี.ไดแนน (H.G.Deignan) ได้ค้นพบ นกปรีดี (Chloropsis aurifrons pridii) ที่ดอยอ่าง ดอยอินทนนท์ซึ่งนกปรีดีนั้นเป็นนกชนิดย่อยของนกเขียวก้านตองหน้าผากสีทอง ที่สถาบันสมิธโซเนียนแห่งสหรัฐอเมริกาตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะหัวหน้าขบวนการเสรีไทย และพบกระจายพันธุ์อยู่บริเวณภาคเหนือเรื่อยลงไปทางด้านตะวันตกจนถึงจังหวัดตาก เป็นนกประจำถิ่นที่มีสีสันสวยงาม กินผลไม้และแมลงเป็นอาหาร นอกจากนี้นายไดแนน ยังตั้งชื่อนกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าอีกชนิดย่อยหนึ่ง ที่พบกระจายพันธุ์อยู่ทางภาคใต้ เพื่อเป็นเกียรติแก่ขบวนการเสรีไทยว่า Chloropsis cochinchinensis seri-thaiสถานที่ สถานที่. อนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ มีอยู่ 2 ที่คือ บริเวณที่ดินถิ่นกำเนิดของปรีดี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นอนุสรณ์สถานรำลึกปรีดี พนมยงค์ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเมือง ตรงข้ามวัดพนมยงค์ อนุสาวรีย์ปรีดีพนมยงค์เป็นรูปสัญลักษณ์ที่แสดงถึงอุดมการณ์อันสำคัญยิ่งของปรีดี 3 ประการคือ สันติภาพ เสรีไทยและประชาธิปไตย และห้องอนุสรณ์สถานบนตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอนุสรณ์แห่งแรกที่ก่อสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงปรีดี พนมยงค์ สถาบันปรีดี พนมยงค์ มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ ได้จัดสร้างอาคารสถาบันปรีดี พนมยงค์ ขึ้น ณ ซอยทองหล่อ ถนนสุขุมวิท 55 สำหรับใช้ดำเนินกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ต่อสังคมและราษฎรไทย เปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2538 คณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ คณะนิติศาสตร์ในมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เพื่อเป็นการรำลึกถึงความผูกพันระหว่างศาสตราจารย์ ปรีดี พนมยงค์ กับศาสตราจารย์ ไสว สุทธิพิทักษ์ ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยและเป็นอธิการบดีคนแรก หอสมุดปรีดี พนมยงค์ เป็นหอสมุดกลางของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีเนื้อที่รวมประมาณ 10, 000 ตารางเมตร แต่เดิมชื่อ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเปลี่ยนเป็น ห้องสมุดธรรมศาสตร์ ในเวลาต่อมา ก่อตั้งขึ้นพร้อม กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ใน พ.ศ. 2477 เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของ ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นิติไกรพจน์เพื่อรองรับการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ โดยจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแด่ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ในวาระครบ 100 ปี ชาตกาลเพลง เพลง. ปรีดีคีตานุสรณ์ คือ บทเพลงซิมโฟนีหมายเลข 4 ประพันธ์โดยคีตกวี สมเถา สุจริตกุล ในวาระครบรอบ 100 ปีชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ ซึ่งใน พ.ศ. 2543 ดุษฎี พนมยงค์ได้ขับร้องในการแสดงรอบปฐมทัศน์ "ปรีดีคีตานุสรณ์" ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย และใน พ.ศ. 2545 ดุษฎี พนมยงค์ ก็ได้แสดงขับร้องใน "ปรีดีคีตานุสรณ์" ร่วมกับวงดุริยางค์และคณะนักร้องประสานเสียงแห่งชาติเวียดนาม ณ ฮานอยอื่น ๆอื่น ๆ. - ถนนปรีดี พนมยงค์ มีอยู่ 3 สาย คือที่ถนนสุขุมวิท 71, ถนนใจกลางเมืองพระนครศรีอยุธยา และภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต - สะพานปรีดี-ธำรง สะพานข้ามแม่น้ำป่าสักอันเป็นทางเข้าออกหลักของเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา ตั้งตามชื่อปรีดี พนมยงค์ และหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ - ถนนประดิษฐ์มนูธรรม เป็นถนนเลียบทางพิเศษฉลองรัช (ทางด่วนสายรามอินทรา-อาจณรงค์) มีความยาว 12 กิโลเมตร - แสตมป์ ชุดที่ระลึก 111 ปีชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ โดยบริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด วางจำหน่ายครั้งแรก 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ใครคือผู้ก่อตั้งและผู้ประศาสน์การเพียงคนเดียวของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองหรือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในปัจจุบัน
{ "answer": [ "ปรีดี พนมยงค์" ], "answer_begin_position": [ 82 ], "answer_end_position": [ 95 ] }
3,621
8,248
แร็กนาร็อกออนไลน์ แร็กนาร็อกออนไลน์ (; ) เป็นเกม MMORPG มุมมองบุคคลที่สามจากด้านเฉียงบน ระบบกึ่งสามมิติ (ฉากเป็นภาพสามมิติ แต่ตัวละครและศัตรูเป็นภาพสองมิติ) ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท กราวิตี้ คอร์ปอเรชั่น ประเทศเกาหลีใต้ เริ่มทดสอบระบบเซิร์ฟเวอร์วันที่ 1 พฤศจิกายน 2544 เป็นระยะเวลา 9 เดือน ก่อนเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกในเกาหลีใต้เมื่อ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2545 โดยเนื้อหาส่วนใหญ่มาจากการ์ตูนเรื่อง RAGNAROK ภูตเทพวิบัติ ซึ่งประพันธ์โดยอี มย็อง-จิน สำหรับในประเทศไทยเปิดให้บริการวันที่ 16 กันยายน 2545 แบบโคลสเบต้าจำนวน 3 เซิร์ฟเวอร์ได้แก่ เคออส โลกิ และไอริส วันที่ 25 ตุลาคม 2545 เปิดบริการแบบโอเพ่นเบต้าทั้งหมด 6 เซิร์ฟเวอร์ได้แก่ เคออส โลกิ ไอริส ลิเดีย เฟนรีร์ และซาราห์ โดยบริษัทเอเชียซอฟท์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ถือลิขสิทธิ์จนถึง พ.ศ. 2559 และเปลี่ยนผู้ถือลิขสิทธิ์เป็น บริษัท อิเลคทรอนิกส์ เอ็กซ์ตรีม จำกัด ตั้งแต่ พ.ศ. 2559ภาพรวม ภาพรวม. เกมแร็กนาร็อกเป็นเกมประเภท เกมออนไลน์แบบเล่นตามบทบาท ซึ่งทำให้ผู้เล่นสามารถพบปะ และมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เล่นอื่นได้หลากหลายอย่างอิสระ การเล่นเกมแร็กนาร็อก ผู้เล่นจะต้องเลือกที่จะเล่นเป็นตัวละครอาชีพต่างๆ (role-playing) ซึ่งตัวละครแต่ละอาชีพจะมีความสามารถ และจุดเด่นจุดด้อยแตกต่างกันไป มีทั้งสายอาชีพที่สามารถเอาตัวรอดด้วยตัวเองได้ และสายอาชีพที่มีความสามารถที่จะช่วยเหลือผู้เล่นอื่น พื้นฐานโดยทั่วไปของการเล่นเกมคือการกำจัดสัตว์ประหลาดเพื่อสะสมไอเทม และได้รับค่าประสบการณ์ เพื่อนำมาพัฒนาสกิล หรือพัฒนาความสามารถของตนให้สูงขึ้น ซึ่งผู้เล่นสามารถที่จะเลือกพัฒนาตัวละครของตัวเองได้อย่างอิสระ ทั้งความสามารถและลักษณะเด่นในตัวเองรวมทั้งการใช้อุปกรณ์ต่างๆ เพื่อสนับสนุนเป้าหมายในการเล่นของตนเอง เช่น พัฒนาเพื่อสนับสนุนผู้เล่นอื่น พัฒนาเพื่อการต่อสู้ตัวต่อตัว หรือพัฒนาเพื่อต่อสู้ในสงครามระหว่าง Guild ซึ่งลักษณะของการพัฒนาความสามารถ และการใช้ ไอเทมได้อย่างอิสระนี้เอง รวมทั้งสัตว์ประหลาดต่างๆ ซึ่งมีความสามารถ และจุดเด่นจุดด้อยแตกต่างกัน ลักษณะในการโจมตี และการป้องกันที่แตกต่างกันไปในสัตว์ประหลาดแต่ละชนิด ทำให้ผู้เล่น สามารถที่จะเลือกใช้ความสามารถ และอุปกรณ์ต่างๆ ให้เหมาะสมกับการกำจัดสัตว์ประหลาดนั้น ผู้ที่เล่นเกมต้องทำการละทะเบียนเพื่อรับไอดีสำหรับการเล่นเกม ซึ่งสามารถทำได้ผ่านหน้าเว็บไซต์ของแร็กนาร็อกระบบเครื่องที่เล่นได้ ระบบเครื่องที่เล่นได้. รายชื่อ VGA Card ที่ใช้ได้- Chipset Nvidia Chipset MATROX Chipset ATI RADEON - GeForce 2 MX ขึ้นไป - MATROX G400 ขึ้นไป - RADEON ขึ้นไป รายชื่อ VGA Card ที่ไม่แนะนำ ชิพเซ็ตต่อไปนี้อาจจะมีปัญหากับเกม- NVidia Riva TNT - Voodoo3 - S3 Savage - ATI Rage128, Mobility rage/radeon การปรับเกมให้ทำงานได้เร็วขึ้น หากคุณพบว่าเกมมีอาการกระตุกหรือเล่นได้ไม่ราบรื่น อาจจะเป็นเพราะ PC ทำงานหนัก ให้ลองปรับแต่งดังนี้:- ใช้ความละเอียด 640 x 480 ในแบบเต็มจอ - ใช้ตัวเลือก 2D Sound - ตั้งคุณภาพของ Sprite และ Texture ไว้ที่ต่ำสุด - ปิดการใช้ Light Map และ Fogแร็กนาร็อก มังงะแร็กนาร็อก ดิแอนิเมชัน
แร็กนาร็อกออนไลน์เป็นเกมประเภทใด
{ "answer": [ "MMORPG" ], "answer_begin_position": [ 137 ], "answer_end_position": [ 143 ] }
3,622
8,248
แร็กนาร็อกออนไลน์ แร็กนาร็อกออนไลน์ (; ) เป็นเกม MMORPG มุมมองบุคคลที่สามจากด้านเฉียงบน ระบบกึ่งสามมิติ (ฉากเป็นภาพสามมิติ แต่ตัวละครและศัตรูเป็นภาพสองมิติ) ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท กราวิตี้ คอร์ปอเรชั่น ประเทศเกาหลีใต้ เริ่มทดสอบระบบเซิร์ฟเวอร์วันที่ 1 พฤศจิกายน 2544 เป็นระยะเวลา 9 เดือน ก่อนเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกในเกาหลีใต้เมื่อ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2545 โดยเนื้อหาส่วนใหญ่มาจากการ์ตูนเรื่อง RAGNAROK ภูตเทพวิบัติ ซึ่งประพันธ์โดยอี มย็อง-จิน สำหรับในประเทศไทยเปิดให้บริการวันที่ 16 กันยายน 2545 แบบโคลสเบต้าจำนวน 3 เซิร์ฟเวอร์ได้แก่ เคออส โลกิ และไอริส วันที่ 25 ตุลาคม 2545 เปิดบริการแบบโอเพ่นเบต้าทั้งหมด 6 เซิร์ฟเวอร์ได้แก่ เคออส โลกิ ไอริส ลิเดีย เฟนรีร์ และซาราห์ โดยบริษัทเอเชียซอฟท์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ถือลิขสิทธิ์จนถึง พ.ศ. 2559 และเปลี่ยนผู้ถือลิขสิทธิ์เป็น บริษัท อิเลคทรอนิกส์ เอ็กซ์ตรีม จำกัด ตั้งแต่ พ.ศ. 2559ภาพรวม ภาพรวม. เกมแร็กนาร็อกเป็นเกมประเภท เกมออนไลน์แบบเล่นตามบทบาท ซึ่งทำให้ผู้เล่นสามารถพบปะ และมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เล่นอื่นได้หลากหลายอย่างอิสระ การเล่นเกมแร็กนาร็อก ผู้เล่นจะต้องเลือกที่จะเล่นเป็นตัวละครอาชีพต่างๆ (role-playing) ซึ่งตัวละครแต่ละอาชีพจะมีความสามารถ และจุดเด่นจุดด้อยแตกต่างกันไป มีทั้งสายอาชีพที่สามารถเอาตัวรอดด้วยตัวเองได้ และสายอาชีพที่มีความสามารถที่จะช่วยเหลือผู้เล่นอื่น พื้นฐานโดยทั่วไปของการเล่นเกมคือการกำจัดสัตว์ประหลาดเพื่อสะสมไอเทม และได้รับค่าประสบการณ์ เพื่อนำมาพัฒนาสกิล หรือพัฒนาความสามารถของตนให้สูงขึ้น ซึ่งผู้เล่นสามารถที่จะเลือกพัฒนาตัวละครของตัวเองได้อย่างอิสระ ทั้งความสามารถและลักษณะเด่นในตัวเองรวมทั้งการใช้อุปกรณ์ต่างๆ เพื่อสนับสนุนเป้าหมายในการเล่นของตนเอง เช่น พัฒนาเพื่อสนับสนุนผู้เล่นอื่น พัฒนาเพื่อการต่อสู้ตัวต่อตัว หรือพัฒนาเพื่อต่อสู้ในสงครามระหว่าง Guild ซึ่งลักษณะของการพัฒนาความสามารถ และการใช้ ไอเทมได้อย่างอิสระนี้เอง รวมทั้งสัตว์ประหลาดต่างๆ ซึ่งมีความสามารถ และจุดเด่นจุดด้อยแตกต่างกัน ลักษณะในการโจมตี และการป้องกันที่แตกต่างกันไปในสัตว์ประหลาดแต่ละชนิด ทำให้ผู้เล่น สามารถที่จะเลือกใช้ความสามารถ และอุปกรณ์ต่างๆ ให้เหมาะสมกับการกำจัดสัตว์ประหลาดนั้น ผู้ที่เล่นเกมต้องทำการละทะเบียนเพื่อรับไอดีสำหรับการเล่นเกม ซึ่งสามารถทำได้ผ่านหน้าเว็บไซต์ของแร็กนาร็อกระบบเครื่องที่เล่นได้ ระบบเครื่องที่เล่นได้. รายชื่อ VGA Card ที่ใช้ได้- Chipset Nvidia Chipset MATROX Chipset ATI RADEON - GeForce 2 MX ขึ้นไป - MATROX G400 ขึ้นไป - RADEON ขึ้นไป รายชื่อ VGA Card ที่ไม่แนะนำ ชิพเซ็ตต่อไปนี้อาจจะมีปัญหากับเกม- NVidia Riva TNT - Voodoo3 - S3 Savage - ATI Rage128, Mobility rage/radeon การปรับเกมให้ทำงานได้เร็วขึ้น หากคุณพบว่าเกมมีอาการกระตุกหรือเล่นได้ไม่ราบรื่น อาจจะเป็นเพราะ PC ทำงานหนัก ให้ลองปรับแต่งดังนี้:- ใช้ความละเอียด 640 x 480 ในแบบเต็มจอ - ใช้ตัวเลือก 2D Sound - ตั้งคุณภาพของ Sprite และ Texture ไว้ที่ต่ำสุด - ปิดการใช้ Light Map และ Fogแร็กนาร็อก มังงะแร็กนาร็อก ดิแอนิเมชัน
เกมแร็กนาร็อกออนไลน์เปิดให้บริการครั้งแรกในประเทศใด
{ "answer": [ "เกาหลีใต้" ], "answer_begin_position": [ 409 ], "answer_end_position": [ 418 ] }
3,623
788,113
มเหนทรบรรพต มเหนทรบรรพต (; ; ) เป็นเมืองโบราณสมัยจักรวรรดิเขมร ตั้งอยู่ในประเทศกัมพูชาปัจจุบัน เป็นที่รับรู้กันมาหลายทศวรรษแล้วว่า เมืองนี้มีอยู่ แต่อยู่ที่ใดไม่แน่ชัด เพราะเนื้อที่ส่วนใหญ่กลายเป็นป่ารกร้างและจมอยู่ใต้ดิน กระทั่งคณะนักโบราณคดี ซึ่งมีฌ็อง-บัปติสต์ เชอว็องส์ (Jean-Baptiste Chevance) กับเดเมียน เอวันส์ (Damian Evans) เป็นหัวหน้า ใช้เลเซอร์สแกน (LIDAR) หาทางอากาศจนพบใน ค.ศ. 2012 และเริ่มขุดค้นเรื่อยมาศัพท์มูล ศัพท์มูล. ชื่อ "มเหนทรบรรพต" มาจากภาษาสันสกฤต แปลว่า "ภูเขาขององค์อินทร์ผู้ยิ่งใหญ่" เป็นชื่อหนึ่งของพนมกุเลน (ភ្នំគូលេន ภฺนํคูเลน "ภูเขาลิ้นจี่") ศาสนสถานบนยอดเขาซึ่งใช้อภิเษกพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ขึ้นเป็นพระเจ้าจักรพรรดิเมื่อ ค.ศ. 802 ชื่อ "มเหนทรบรรพต" นี้ปรากฏในจารึกหลายหลักจากสมัยพระนครซึ่งพบที่ปราสาทอกยม (ប្រាសាទអកយំ บฺราสาทอกยํ)ที่ตั้ง ที่ตั้ง. เมืองมเหนทรบรรพตตั้งอยู่บนเนินภูเขาพนมกุเลนในจังหวัดเสียมราฐ ห่างนครวัดไปทางเหนือ และห่างตัวจังหวัดเสียมราฐไปทางเหนือการขุดค้น การขุดค้น. ฌ็อง-บาติสต์ เชอว็องซ์ จากมูลนิธิโบราณคดีและการพัฒนาแห่งลอนดอน (London's Archaeology and Development Foundation) กับแดเมียน อีแวนส์ จากมหาวิทยาลัยซิดนีย์ (University of Sydney) ร่วมกับนำคณะผู้เชี่ยวชาญขุดค้นหาเมืองมเหนทรบรรพตมานานหลายปี จน ค.ศ. 2012 คณะดังกล่าวใช้วิทยาการลีดาร์ (LIDAR) คือ ใช้เลเซอร์ติดตั้งบนเฮลิคอปเตอร์ออกบินสแกนทั่วพื้นที่พนมกุเลนเป็นเวลาเจ็ดวัน จนพบที่ตั้งเมืองมเหนทรบรรพต ซึ่งสอดคล้องกับการวิจัยภาคพื้นดินที่นักโบราณคดีหลายคนเคยทำไว้ คณะผู้เชี่ยวชาญจึงขุดค้นจนพบรางน้ำและแอ่งน้ำของเมือง โดยใช้จักรยานยนต์ออกตรวจค้นจนพบจุดเริ่มขุด แต่ต้องเสี่ยงกับระเบิดที่ฝังไว้ในดินตั้งแต่ช่วงสงคราม คณะขุดค้นยังพบศาสนสถาน 5 แห่ง แล้วใช้ลีดาร์ตรวจจนพบศาสนสถานอีก 30 แห่ง ร่องรอยถนนที่เชื่อมโยงกันอย่างอลังการ เขื่อน และสระน้ำ แดเมียน อีแวนส์ ยังกล่าวว่า งานครั้งนี้ทำให้ได้ทฤษฎีว่า ปัญหาการบริหารจัดการน้ำทำให้จักรวรรดิเขมรล่มสลายในที่สุดประวัติ ประวัติ. คณะนักโบราณคดีของฌ็อง-บาติสต์ เชอว็องซ์ ประมาณว่า เมืองมเหนทรบรรพตกำเนิดขึ้นใน ค.ศ. 802 ฉะนั้น เมืองมเหนทรบรรพตจึงเก่ากว่านครวัดราว 350 ปี เมืองมเหนทรบรรพตตั้งขึ้นในรัชกาลพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ผู้สถาปนาจักรวรรดิเขมร และรับการอภิเษกเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ณ พนมกุเลน ภูเขาอันเป็นที่ตั้งเมืองมเหนทรบรรพต พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ตั้งเมืองมเหนทรบรรพตนี้ขึ้นเพื่อป็นราชสำนักหนึ่งในสามแห่งของพระองค์ อีกสองแห่งคือ อมเรนทรปุระ (អមរេន្ទ្របុរៈ อมเรนฺทฺรบุระ̤ "เมืองพระอินทร์") และหริหราลัย (ហរិហរាល័យ หริหราลัย "เมืองพระหริหระ")
ชื่อเมืองมเหนทรบรรพตแปลว่าอะไร
{ "answer": [ "ภูเขาขององค์อินทร์ผู้ยิ่งใหญ่" ], "answer_begin_position": [ 566 ], "answer_end_position": [ 595 ] }
3,624
175,887
กิ้งกือมังกรสีชมพู กิ้งกือมังกรสีชมพู (; ) เป็นกิ้งกือมังกรที่พบในประเทศไทยเพียงแห่งเดียวในโลก ค้นพบโดยนักสำรวจสมัครเล่น กลุ่ม siamensis.org ซึ่งต่อมาได้แจ้งให้ ศ.ดร.สมศักดิ์ ปัญหา และคณะทราบ เมื่อเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2550 บริเวณป่าเขาหินปูนแถบภาคกลางตอนบนต่อกับภาคเหนือตอนล่าง กิ้งกือมังกรสีชมพูจัดในวงศ์กิ้งกือมังกร มีสีชมพูสดใสแบบช็อกกิงพิงก์ (shocking pink) มีปุ่มหนามคล้ายมังกร เมื่อโตเต็มวัยจะมีลำตัวยาวประมาณ 7 ซม. มีจำนวนปล้องราว 20-40 ปล้อง และสามารถขับสารพิษประเภทไซยาไนด์ออกมาจากต่อมขับสารพิษข้างลำตัวเพื่อป้องกันตนเองจากศัตรูธรรมชาติ กิ้งกือมังกรสีชมพู พบเป็นแห่งแรกในโลกที่ประเทศไทย ในอำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี
กิ้งกือมังกรสีชมพูสามารถพบได้เฉพาะในประเทศอะไร
{ "answer": [ "ไทย" ], "answer_begin_position": [ 165 ], "answer_end_position": [ 168 ] }
3,625
909,214
มิสแกรนด์ตรัง มิสแกรนด์ตรัง () เป็นการประกวดนางงามของจังหวัดตรัง จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2559 ปัจจุบันดำเนินการจัดประกวดโดย ยุทธนา ศิตภัคปุรานันท์ ผู้อำนวยการกองประกวดมิสแกรนด์ตรัง การประกวดมิสแกรนด์ตรังมีจุดประสงค์เพื่อคัดเลือกตัวแทนสาวงาม เข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์ไทยแลนด์ โดยผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์ตรัง 2018 คนปัจจุบัน คือ เมธิตา ช่วยสถิตย์ ได้รับตำแหน่งเมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งจัดขึ้น ณ หอประชุมวิทยบริการทางวิชาการ วิทยาลัยเทคนิคตรังมิสแกรนด์ตรังรองชนะเลิศผลงานการประกวดมิสแกรนด์ไทยแลนด์ชุดอัตลักษณ์ประจำจังหวัด ชุดอัตลักษณ์ประจำจังหวัด. 2018: ชุดวิวาห์ใต้สมุทร ได้รับแรงบันดาลใจจาก งานวิวาห์ใต้สมุทรเป็นงานแต่งงานใต้ท้องทะเลโดยจัดขึ้นที่ จังหวัดตรัง โดยชุดจะคล้ายลักษณะของชุดวิวาห์แต่จะผสมผสานอุปกรณ์ดำน้ำและกลิ่นอายใต้ท้องทะเลลงไปอย่างลงตัว 2017: ชุดโนรีศรีรัษฎา ได้รับแรงบันดาลใจจาก มโนราห์ หากเปรียบสาวชาวใต้แต่ละจังหวัดเป็นมโนราห์ หญิงสาวจังหวัดตรังจึงมีแนวคิดที่จะเป็นมโนราห์ในแบบฉบับของตัวเอง ที่มีการนำกลิ่นอายของเครื่องแต่งกายมโนราห์มาประยุกต์ เสริมเติมแต่งให้ดูเป็นสากล แต่ก็ไม่ได้ข้ามผ่านความเป็นไทย ยังคงสืบทอดแบบแผนและวัฒนธรรมที่ดีงามไว้ให้ชนรุ่นหลังได้ศึกษาจดจำ 2016: ชุดมาตรัง..ไม่หนังก็โนราห์ ได้แรงบันดาลใจสร้างสรรค์จาก มโนราห์ซึ่งเป็นการแสดงร่วมสมัยที่เป็นเอกลักษณ์ของปักษ์ใต้ กับหนังตะลุงซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของปักษ์ใต้ ร่วมกับการใช้ผ้าปาเต๊ะ รวมกับผ้าทอนาหมื่นศรี ซึ่งทั้งหมดได้ออกแบบประยุกต์ใส่วัฒนธรรมทั้ง 4 อย่างของจังหวัดตรังอย่างลงตัวทำเนียบมิสแกรนด์ตรัง
นางงามคนใดได้รับตำแหน่งมิสแกรนด์ตรัง 2018
{ "answer": [ "เมธิตา ช่วยสถิตย์" ], "answer_begin_position": [ 423 ], "answer_end_position": [ 440 ] }
3,626
93,102
มาเดรา มาเดรา () เป็นหมู่เกาะของประเทศโปรตุเกส ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติก ตั้งอยู่ระหว่าง และ เป็นเขตปกครองตนเองของประเทศโปรตุเกส มาเดรานั้นอยู่ในทวีปยุโรปทางการปกครอง แต่อยู่ในทวีปแอฟริกาในทางภูมิศาสตร์ ชาวโรมันรู้จักเกาะมาเดราในนามหมู่เกาะสีม่วง (Purple Islands) ถูกค้นพบโดยนักเดินเรือชาวโปรตุเกสในต้นปี ค.ศ. 1418 หรือ ปลายปี 1420 หมู่เกาะนี้ถูกพิจารณาว่าเป็นการค้นพบแรกของยุคการสำรวจโดยเฮนรี นักเดินทางชาวโปรตุเกส สิ่งเป็นเป็นที่ขึ้นชื่อคือ รีสอร์ต ไวน์ที่เป็นที่โด่งดัง สภาพภูมิอากาศ ทัศนียภาพที่สวยงาม ดอกไม้ งานเย็นปักถักร้อย การฉลองปีใหม่ด้วยโชว์พลุไฟ และล่าสุดกับงานพุไฟที่ใหญ่ที่สุดในโลกติดกินเนสบุ๊คบุคคลที่มีชื่อเสียงบุคคลที่มีชื่อเสียง. - คริสเตียโน โรนัลโด
หมู่เกาะมาเดราในประเทศโปรตุเกสตั้งอยู่ในมหาสมุทรใด
{ "answer": [ "มหาสมุทรแอตแลนติก" ], "answer_begin_position": [ 148 ], "answer_end_position": [ 165 ] }
3,628
356,793
โบตั๋นกลีบสุดท้าย โบตั๋นกลีบสุดท้าย จากบทประพันธ์ของ กานติมา เขียนบทโทรทัศน์โดย เอกลิขิต กำกับการแสดงโดย ชนะ คราประยูร นำแสดงโดย อธิชาติ ชุมนานนท์ แสดงเป็น อาจู / ธีรเดช ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ แสดงเป็น ตันหยง ออกอากาศทุกทุกวันจันทร์ - อังคาร เวลา 20.30 น. ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เริ่มตั้งแต่วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2551 โบตั๋นกลีบสุดท้าย ได้รับรางวัลจาก คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2551 ถึง 3 รางวัล คือ บทละครโทรทัศน์ยอดเยี่ยม ผู้กำกับการแสดงละครยอดเยี่ยม และ ละครไทยยอดนิยมนักแสดง
ใครคือผู้ประพันธ์บทโทรทัศน์ของละครไทยเรื่องโบตั๋นกลีบสุดท้าย
{ "answer": [ "เอกลิขิต" ], "answer_begin_position": [ 172 ], "answer_end_position": [ 180 ] }
3,629
356,793
โบตั๋นกลีบสุดท้าย โบตั๋นกลีบสุดท้าย จากบทประพันธ์ของ กานติมา เขียนบทโทรทัศน์โดย เอกลิขิต กำกับการแสดงโดย ชนะ คราประยูร นำแสดงโดย อธิชาติ ชุมนานนท์ แสดงเป็น อาจู / ธีรเดช ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ แสดงเป็น ตันหยง ออกอากาศทุกทุกวันจันทร์ - อังคาร เวลา 20.30 น. ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เริ่มตั้งแต่วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2551 โบตั๋นกลีบสุดท้าย ได้รับรางวัลจาก คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2551 ถึง 3 รางวัล คือ บทละครโทรทัศน์ยอดเยี่ยม ผู้กำกับการแสดงละครยอดเยี่ยม และ ละครไทยยอดนิยมนักแสดง
นักแสดงคนใดรับบทเป็นตันหยงในละครไทยเรื่องโบตั๋นกลีบสุดท้าย
{ "answer": [ "ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ" ], "answer_begin_position": [ 262 ], "answer_end_position": [ 283 ] }
3,630
128,425
ยุวกาชาดไทย ยุวกาชาดไทย () คือบรรดาเยาวชนที่ดำเนินกิจกรรมในการอุทิศตน และบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ในด้านต่างๆ โดยการรับเอาเฉพาะกลุ่มยุวชน และเยาวชนที่มีอายุตั้งแต่ 8 - 25 ปี ทั้งชายและหญิง กิจการยุวกาชาดในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2465 ในชื่อ “กองอนุสภากาชาดสยาม” โดยพระดำริของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต อุปนายกผู้อำนวยการสภากาชาดสยาม ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น "อนุกาชาด" และเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น “ยุวกาชาด” เมื่อปี พ.ศ. 2521
กิจการยุวกาชาดในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อใด
{ "answer": [ "27 มกราคม พ.ศ. 2465" ], "answer_begin_position": [ 315 ], "answer_end_position": [ 334 ] }
3,631
128,425
ยุวกาชาดไทย ยุวกาชาดไทย () คือบรรดาเยาวชนที่ดำเนินกิจกรรมในการอุทิศตน และบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ในด้านต่างๆ โดยการรับเอาเฉพาะกลุ่มยุวชน และเยาวชนที่มีอายุตั้งแต่ 8 - 25 ปี ทั้งชายและหญิง กิจการยุวกาชาดในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2465 ในชื่อ “กองอนุสภากาชาดสยาม” โดยพระดำริของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต อุปนายกผู้อำนวยการสภากาชาดสยาม ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น "อนุกาชาด" และเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น “ยุวกาชาด” เมื่อปี พ.ศ. 2521
กิจการยุวกาชาดในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นภายใต้ชื่อใด
{ "answer": [ "กองอนุสภากาชาดสยาม" ], "answer_begin_position": [ 343 ], "answer_end_position": [ 361 ] }
3,632
321,057
ธงชาติโรมาเนีย ธงชาติโรมาเนีย () เป็นธงสามสีซึ่งประกอบด้วยแถบริ้วแนวตั้ง 3 สี ประกอบด้วยสีน้ำเงิน สีเหลือง และสีแดง เรียงตามลำดับจากด้านคันธง ลักษณะโดยรวมของธงเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐโรมาเนียได้ระบุถึงธงชาติโรมาเนียไว้ว่า “ธงของโรมาเนียเป็นธงสามสี แถบสีต่างๆ เรียงลำดับตามแนวตั้งโดยนับจากด้านคันธงไป ประกอบด้วยสีน้ำเงิน สีเหลือง สีแดง” สัดส่วนและระดับสีของธงแบบมาตรฐานได้ถูกกำหนดไว้พร้อมกับข้อปฏิบัติเกี่ยวกับธงโดยกฎหมายว่าด้วยธง ซึ่งได้ตราขึ้นในปี ค.ศ. 1994 และต่อมาได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมในปี ค.ศ. 2001 ลักษณะของธงดังกล่าวนี้พ้องกันอย่างยิ่งกับธงพลเรือนของอันดอร์ราและธงราชการของประเทศชาด โดยเฉพาะกรณีธงชาติของประเทศชาดนั้นต่างกันกับธงของโรมาเนียเพียงว่าประเทศชาดใช้โทนสีน้ำเงินที่เข้มกว่าของโรมาเนียเท่านั้น ความคล้ายคลึงดังกล่าวได้นำไปสู่การอภิปรายเรื่องนี้ในระดับนานาชาติ โดยในปี ค.ศ. 2004 ประเทศชาดได้ร้องขอให้องค์การสหประชาชาติวินิจฉัยในข้อปัญหาดังกล่าว แต่ประธานาธิบดีอีออน อีลีเอสคู (Ion Iliescu) ได้ประกาศในเวลาต่อมาว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ แก่ธงชาติโรมาเนีย ธงอีกธงหนึ่งที่สัมพันธ์กับธงชาติโรมาเนียคือธงชาติมอลโดวา ซึ่งใช้พื้นสีธงแบบเดียวกับของโรมาเนีย แต่สัดส่วนความกว้างต่อความยาวของธงเป็น 1:2 มีใช้สีน้ำเงินในโทนที่อ่อนกว่าของโรมาเนีย และมีดวงตราแผ่นดินของมอลโดวาที่กลางธงสีธง สีธง. กฎหมายว่าด้วยธงของโรมาเนียได้ระบุถึงระดับของสีธงชาติไว้ชัดเจนว่า สีน้ำเงินใช้สี cobalt blue สีเหลืองใช้สี chrome yellow และสีแดงใช้สี vermilion red ซึ่งในหนังสือ Album des pavillons nationaux et des marques distinctives (2000) ได้เทียบสีไว้ด้วยระบบสี Pantone ดังนี้
ธงชาติโรมาเนียประกอบด้วยสีทั้งหมดกี่สี
{ "answer": [ "3" ], "answer_begin_position": [ 162 ], "answer_end_position": [ 163 ] }
3,633
238,892
การตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ) นักบุญปีเตอร์ตรึงกางเขน () เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันอยู่ที่วัดซานตามาเรียเดลโปโปโลในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ภาพ “นักบุญปีเตอร์ตรึงกางเขน” เป็นภาพที่เขียนเสร็จในปี ค.ศ. 1601 เป็นภาพที่เขียนสำหรับชาเปลเซราซิ (Cerasi Chapel) ภายในวัดซานตามาเรียเดลโปโปโล ตรงกันข้ามเป็นภาพ “มโนทัศน์ของนักบุญพอลบนถนนสู่ดามาสคัส” ซึ่งเป็นภาพเขียนอีกภาพหนึ่งของคาราวัจโจ ตรงกลางบนแท่นบูชาระหว่างสองภาพนี้เป็นภาพ “อัสสัมชัญของพระแม่มารี” โดยอันนิบาเล คารัคชี ภาพนี้เป็นภาพที่แสดงการพลีชีพโดยการถูกตรึงกางเขนของนักบุญปีเตอร์—ก่อนจะถูกตรึงกางเขนนักบุญปีเตอร์ขอให้เป็นกางเขนที่กลับกับกางเขนที่ใช้ในการตรึงพระเยซูเพื่อที่จะไม่เป็นการเลียนแบบพระองค์ นักบุญปีเตอร์จึงถูกตรึงกางเขนโดยการห้อยหัวลงมา นอกจากนักบุญปีเตอร์แล้วก็มีชาวโรมันที่เราไม่เห็นหน้าพยายามที่จะตั้งกางเขนของนักบุญผู้สูงอายุแต่ก็ยังมีกล้ามเนื้อ นักบุญปีเตอร์ดูจะมีน้ำหนักมากกว่าที่ร่างกายบ่งไว้ที่ต้องใช้คนถึงสามคนในการพยายามยกกางเขนขึ้นราวกับว่าบาปในสิ่งที่กำลังทำถ่วงตัวบุคคลทั้งสาม ภาพสองภาพนี้และฉากแท่นบูชาที่เขียนโดยอันนิบาเล คารัคชีได้รับการจ้างให้เขียนโดยมอนซิยอร์ทิแบริโอ เซราซิผู้เสียชีวิตไม่นานหลังจากนั้น ภาพเขียนแรกทั้งสองภาพได้รับการปฏิเสธ และผ่านมือไปเป็นส่วนหนึ่งของงานสะสมส่วนบุคคลของคาร์ดินัลซันเนซซิโอ นักวิชาการหลายคนที่รวมทั้งจอห์น แกช, เฮเลน แลกดอน และปีเตอร์ รอบบ์ สันนิษฐานว่าคาร์ดินัลซันเนซซิโอฉวยโอกาสเมื่อเซราซิเสียชีวิตโดยไม่คาดในการเป็นเจ้าของภาพหลายภาพของคาราวัจโจ แต่ภาพแรกของ “นักบุญปีเตอร์ตรึงกางเขน” สูญหายไป นักวิชาการบางคนเชื่อว่าเป็นภาพที่เป็นของพิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจ ในเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก แต่ก็ไม่เป็นที่ยอมรับกัน ภาพที่สองจึงได้รับการยอมรับในปี ค.ศ. 1601 นักบุญสององค์--ปีเตอร์และพอล—เป็นนักบุญที่เป็นผู้วางรากฐานของสถาบันคาทอลิก ปีเตอร์ผู้เป็น “หลักหิน” ที่พระเยซูประกาศให้เป็นผู้สร้างวัด (พระวรสารนักบุญแม็ทธิว 16:18) และนักบุญพอลผู้ก่อตั้งสถาบันคริสต์ศาสนาในโรม ภาพเขียนของคาราวัจโจจึงเป็นสัญลักษณ์ของการอุทิศให้แก่ประมุขแห่งอัครสาวกของโรม ภายในวัดที่ตั้งเด่นอยู่กลางจตุรัสที่ต้อนรับนักแสวงบุญผู้มาสักการะเมื่อเข้ามาในกรุงโรมจากทางด้านเหนือ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของหัวข้อของการปฏิรูปศาสนาของนิกายโรมันคาทอลิกในการเปลี่ยนแปลงและการเสียสละซึ่งเป็นการต่อต้านการขยายตัวของโปรเตสแตนต์ คาราวัจโจหรือผู้อุปถัมภ์ดูเหมือนจะคิดถึงจิตรกรรมฝาผนังของไมเคิล แอนเจโลในชาเปลเพาลินาในนครรัฐวาติกัน เมื่อเลือกเขียนภาพนี้ แต่งงานเขียนของคาราวัจโจไม่มีรายละเอียดที่ยุ่งเหยิงเช่นในงานจิตรกรรมฝาผนังแบบแมนเนอริสต์ของไมเคิล แอนเจโล
นักบุญปีเตอร์ตรึงกางเขน เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยจิตรกรสมัยบาโรกชาวอิตาลีคนใด
{ "answer": [ "คาราวัจโจ" ], "answer_begin_position": [ 210 ], "answer_end_position": [ 219 ] }
3,634
238,892
การตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ) นักบุญปีเตอร์ตรึงกางเขน () เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันอยู่ที่วัดซานตามาเรียเดลโปโปโลในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ภาพ “นักบุญปีเตอร์ตรึงกางเขน” เป็นภาพที่เขียนเสร็จในปี ค.ศ. 1601 เป็นภาพที่เขียนสำหรับชาเปลเซราซิ (Cerasi Chapel) ภายในวัดซานตามาเรียเดลโปโปโล ตรงกันข้ามเป็นภาพ “มโนทัศน์ของนักบุญพอลบนถนนสู่ดามาสคัส” ซึ่งเป็นภาพเขียนอีกภาพหนึ่งของคาราวัจโจ ตรงกลางบนแท่นบูชาระหว่างสองภาพนี้เป็นภาพ “อัสสัมชัญของพระแม่มารี” โดยอันนิบาเล คารัคชี ภาพนี้เป็นภาพที่แสดงการพลีชีพโดยการถูกตรึงกางเขนของนักบุญปีเตอร์—ก่อนจะถูกตรึงกางเขนนักบุญปีเตอร์ขอให้เป็นกางเขนที่กลับกับกางเขนที่ใช้ในการตรึงพระเยซูเพื่อที่จะไม่เป็นการเลียนแบบพระองค์ นักบุญปีเตอร์จึงถูกตรึงกางเขนโดยการห้อยหัวลงมา นอกจากนักบุญปีเตอร์แล้วก็มีชาวโรมันที่เราไม่เห็นหน้าพยายามที่จะตั้งกางเขนของนักบุญผู้สูงอายุแต่ก็ยังมีกล้ามเนื้อ นักบุญปีเตอร์ดูจะมีน้ำหนักมากกว่าที่ร่างกายบ่งไว้ที่ต้องใช้คนถึงสามคนในการพยายามยกกางเขนขึ้นราวกับว่าบาปในสิ่งที่กำลังทำถ่วงตัวบุคคลทั้งสาม ภาพสองภาพนี้และฉากแท่นบูชาที่เขียนโดยอันนิบาเล คารัคชีได้รับการจ้างให้เขียนโดยมอนซิยอร์ทิแบริโอ เซราซิผู้เสียชีวิตไม่นานหลังจากนั้น ภาพเขียนแรกทั้งสองภาพได้รับการปฏิเสธ และผ่านมือไปเป็นส่วนหนึ่งของงานสะสมส่วนบุคคลของคาร์ดินัลซันเนซซิโอ นักวิชาการหลายคนที่รวมทั้งจอห์น แกช, เฮเลน แลกดอน และปีเตอร์ รอบบ์ สันนิษฐานว่าคาร์ดินัลซันเนซซิโอฉวยโอกาสเมื่อเซราซิเสียชีวิตโดยไม่คาดในการเป็นเจ้าของภาพหลายภาพของคาราวัจโจ แต่ภาพแรกของ “นักบุญปีเตอร์ตรึงกางเขน” สูญหายไป นักวิชาการบางคนเชื่อว่าเป็นภาพที่เป็นของพิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจ ในเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก แต่ก็ไม่เป็นที่ยอมรับกัน ภาพที่สองจึงได้รับการยอมรับในปี ค.ศ. 1601 นักบุญสององค์--ปีเตอร์และพอล—เป็นนักบุญที่เป็นผู้วางรากฐานของสถาบันคาทอลิก ปีเตอร์ผู้เป็น “หลักหิน” ที่พระเยซูประกาศให้เป็นผู้สร้างวัด (พระวรสารนักบุญแม็ทธิว 16:18) และนักบุญพอลผู้ก่อตั้งสถาบันคริสต์ศาสนาในโรม ภาพเขียนของคาราวัจโจจึงเป็นสัญลักษณ์ของการอุทิศให้แก่ประมุขแห่งอัครสาวกของโรม ภายในวัดที่ตั้งเด่นอยู่กลางจตุรัสที่ต้อนรับนักแสวงบุญผู้มาสักการะเมื่อเข้ามาในกรุงโรมจากทางด้านเหนือ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของหัวข้อของการปฏิรูปศาสนาของนิกายโรมันคาทอลิกในการเปลี่ยนแปลงและการเสียสละซึ่งเป็นการต่อต้านการขยายตัวของโปรเตสแตนต์ คาราวัจโจหรือผู้อุปถัมภ์ดูเหมือนจะคิดถึงจิตรกรรมฝาผนังของไมเคิล แอนเจโลในชาเปลเพาลินาในนครรัฐวาติกัน เมื่อเลือกเขียนภาพนี้ แต่งงานเขียนของคาราวัจโจไม่มีรายละเอียดที่ยุ่งเหยิงเช่นในงานจิตรกรรมฝาผนังแบบแมนเนอริสต์ของไมเคิล แอนเจโล
คาราวัจโจเขียนภาพเขียนสีน้ำมันชื่อว่า นักบุญปีเตอร์ตรึงกางเขน เสร็จในปีค.ศ.ใด
{ "answer": [ "1601" ], "answer_begin_position": [ 376 ], "answer_end_position": [ 380 ] }
3,635
184,672
ตราบาปลิขิตรัก ตราบาปลิขิตรัก เป็นชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์เรื่อง Atonement ซึ่งสร้างจากนวนิยายของเอียน แมคอีวานในชื่อเดียวกัน กำกับโดยโจ ไรท์ เขียนบทภาพยนตร์โดยคริสโตเฟอร์ แฮมป์ตัน ถ่ายทำในปี พ.ศ. 2549 ที่ประเทศอังกฤษและฝรั่งเศส นำแสดงโดยเจมส์ แมคอาวอยและเคียรา ไนต์ลีย์ จัดจำหน่ายโดยยูนิเวอร์แซล ออกฉายในประเทศอังกฤษวันที่7 กันยายน พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007) และฉายในไทยวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) ตราบาปลิขิตรัก ได้ฉายในเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเวนิสครั้งที่ 64 ทำให้โจ ไรท์ในวัย 35ปี เป็นผู้กำกับที่มีอายุน้อยที่สุดที่มีผลงานออกฉายในงานเทศกาลนั้น ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับรางวัลออสการ์ในสาขาดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยมในการประกาศรางวัลครั้งที่ 80 และเข้าชิงทั้งหมด 6 สาขารวมทั้ง ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม,บทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม,นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (เซอร์ชา โรนัน)เนื้อเรื่องย่อ เนื้อเรื่องย่อ. ภาพยนตร์เรื่องนี้แบ่งได้เป็นสี่ตอนเช่นเดียวกันกับนวนิยายต้นฉบับ บางฉากได้ใช้วิธีการเล่าซ้ำโดยแสดงให้เห็นมุมมองที่ต่างกันออกไปต่อเหตุการณ์เดียวกัน ไบรโอนี่ ทาลลิส (เซอร์ชา โรนัน) เป็นเด็กหญิงวัย 13 ปีในครอบครัวที่ร่ำรวยครอบครัวหนึ่งของอังกฤษ เป็นน้องคนเล็กในบรรดาพี่น้องสามคน และใฝ่ฝันอยากจะเป็นนักเขียน เซซิเลีย(เคียรา ไนต์ลีย์)พี่สาวของเธอสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เช่นเดียวกันกับร็อบบี เทอร์เนอร์(เจมส์ แมคอาวอย)ลูกชายแม่บ้านที่ได้รับการสนับสนุนทางการศึกษาจากพ่อของเซซิเลีย ร็อบบีซึ่งกำลังจะเข้าเรียนแพทย์ได้ใช้เวลาในช่วงฤดูร้อนทำสวนในที่ดินของตระกูลทาลลิส ไบรโอนี่ได้แสดงให้เห็นตั้งแต่แรกเริ่มว่าเธอมีความรู้สึกพิเศษต่อร็อบบี วันที่เป็นจุดเริ่มต้นของเหตุการณ์นั้น ญาติของตระกูลอันประกอบด้วยโลล่า ควินซีย์(จูโน เทมเพิล)และน้องชายฝาแฝดของเธอ(ฟีลิกซ์และชาร์ลี วอน ซิมสัน)ได้เดินทางมาเยี่ยมในขณะที่พ่อแม่ของพวกเขาเพิ่งหย่าร้างกัน ในขณะที่ลีออน(แพทริก เคนเนดี้) พี่ชายของเซซิเลียและไบรโอนี่ได้กลับบ้านพร้อมพาเพื่อนชื่อพอล มาร์แชล(เบเนดิคด์ คัมเบอร์แบทช์)เจ้าของโรงงานช็อคโกแลต บ้านทาลลิสจัดมื้ออาหารค่ำเป็นพิเศษ ลีออนได้ชักชวนร็อบบีซึ่งตอบตกลง ทำให้เซซิเลียเกิดความรำคาญเป็นอย่างยิ่ง ไบรโอนี่เพิ่งจะเขียนบทละครเรื่อง การทดสอบของอาราเบลล่า(The Trials of Arabella)สำเร็จ เป็นบทละครที่กล่าวถึงความซับซ้อนของความรัก ไบรโอนี่ตั้งใจจะใช้ละครเรื่องนี้เล่นในช่วงอาหารค่ำโดยมีเธอเป็นผู้กำกับ แต่ลูกพี่ลูกน้องของเธอ โลล่าและฝาแฝดไม่อยากร่วมมือนัก ไบรโอนี่จึงต้องกลับไปที่ห้องอย่างหงุดหงิดและได้เห็นภาพเหตุการณ์ระหว่างเซซิเลียกับร็อบบีที่น้ำพุ โดยภาพที่เห็นคือเซซิเลียถอดเสื้อเหลือเพียงชุดชั้นในและกระโดดลงไปในน้ำพุ มีร็อบบียืนมองใกล้ๆ อันที่จริงเซซิเลียเพียงลงไปเก็บเศษแจกันที่ร็อบบีทำแตกเท่านั้นแต่ก็ทำให้ไบรโอนี่เข้าใจผิดไปแล้ว ต่อมาเมื่อร็อบบีเขียนจดหมายขอโทษเซซิเลียและฝากไบรโอนี่นำไปส่งให้ ไบรโอนี่ก็แอบอ่านและพบว่าเป็นข้อความหยาบคายเกี่ยวกับเรื่องเพศซึ่งร็อบบีส่งผิดฉบับ ไบรโอนี่เล่าให้โลล่าฟังและกล่าวว่าร็อบบีเป็นบุคคลอันตราย ต่อมาไบรโอนี่ได้เห็นภาพบาดตาอีกครั้งที่ห้องสมุด เมื่อเซซิเลียกับร็อบบีกำลังกอดก่ายกันอยู่ ในช่วงอาหารค่ำเมื่อฝาแฝดหายตัวไปและทุกคนแยกย้ายกันออกไปตาม ไบรโอนี่ได้เห็นโลล่าถูกใครบางคนข่มขืน โลล่าให้การว่าเธอไม่รู้ว่าใครคือคนที่ทำร้ายเธอ ไบรโอนี่จึงไม่รอช้าที่จะกล่าวหาร็อบบีโดยยืนยันว่าเธอเห็นร็อบบีจริงๆ ร็อบบีที่หาฝาดแฝดพบจึงถูกส่งไปเข้าคุกแม้เซซิเลียจะเชื่อว่าร็อบบีไม่ได้ทำก็ตาม สี่ปีต่อมา ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ร็อบบีออกจากคุกและเข้าร่วมสงคราม ก่อนหน้านั้นเขาได้พบกับเซซิเลียครั้งหนึ่งในลอนดอนและสัญญาว่าจะกลับมาพบกันอีก ไบรโอนี่ในวัย 18 ปี(โรโมร่า การาย)ไปเป็นพยาบาลตามรอยเซซิเลียและพยายามติดต่อกับเซซิเลียแต่โดนปฏิเสธ เซซิเลียได้ออกจากการเป็นครอบครัวนับตั้งแต่ทุกคนเชื่อว่าร็อบบีกระทำความผิดจริง ร็อบบีและเพื่อนทหารสองนายซึ่งพลัดหลงกับกองทัพเดินทางไปถึงดันเคิร์ก ประเทศฝรั่งเศส และได้พบกับกองทัพที่รอการเคลื่อนย้ายกลับอังกฤษที่นั่น ร็อบบีได้ยินว่ากองทัพจะทำการเคลื่อนย้ายในวันรุ่งขึ้น ในช่วงเวลาหลังจากนั้น ที่โรงพยาบาลในลอนดอน ไบรโอนี่ได้พบกับความพรั่นพรึงจากผู้ที่ผ่านการรบมาแล้ว หลังจากเห็นข่าวสมเด็จพระราชินีเสด็จเยี่ยมโรงงานของพอล มาร์แชล ไบรโอนี่ได้เข้าร่วมงานแต่งงานของพอลและโลล่า ณ ที่นั้นเธอตระหนักได้ว่า ในค่ำคืนที่เธอเป็นพยานการข่มขืน ชายที่อยู่ที่นั่นคือพอล ไม่ใช่ร็อบบี ในวันนั้นไบรโอนี่ไปหาเซซิเลียและกล่าวขอโทษ เซซิเลียอาศัยอยู่กับร็อบบี ทั้งสองชี้แนะว่าไบรโอนี่จะต้องสารภาพความจริงทั้งหมดให้ทุกคนได้รับรู้ ในปีค.ศ. 1999 ไบรโอนี่ในวัยชรา(วาเนสซา เรดเกรฟ)ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับนวนิยายเรื่องสุดท้ายของเธอ ไบรโอนี่เปิดเผยว่าเธอเป็นโรค Vascular dementia ทำให้ความจำของเธอจะเสื่อมลงในไม่ช้า นอกจากนี้เธอยังเปิดเผยอีกว่าตอนจบของนิยายกับชีวิตจริงไม่เหมือนกัน ในความจริงเธอไม่ได้ไปหาเซซิเลีย เซซิเลียกับร็อบบีเองก็ไม่ได้พบกันหรือใช้ชีวิตร่วมกัน เพราะร็อบบีได้เสียชีวิตที่ดันเคิร์ก ส่วนเซซิเลียจมน้ำจากเหตุการณ์ท่อระเบิดที่สถานีรถไฟใต้ดิน เสียชีวิตเช่นกัน ไบรโอนี่กล่าวว่านวนิยายเรื่องนี้คือการไถ่บาป(Atonement)ของเธอ ฉากสุดท้ายของภาพยนตร์เรื่องนี้คือร็อบบีและเซซิเลียยิ้มอย่างร่าเริงที่ชายหาด ใกล้ๆมีบ้านสีฟ้าที่ทั้งสองคนคาดหวังว่าจะได้อยู่ร่วมกัน ทั้งสองดูมีความสุขมากซึ่งในความเป็นจริงแล้วไม่เคยมีช่วงเวลาเช่นนั้นตัวละครหลักตัวละครหลัก. - เคียรา ไนต์ลีย์ รับบทเป็น เซซิเลีย ทาลลิส ลูกคนกลางของตระกูลทาลลิส ในตอนแรกจะได้รับบทเป็นไบรโอนี่วัย 18 ปีแต่โจ ไรท์ซึ่งเป็นผู้กำกับได้เห็นว่าเธอเหมาะกับบทเซซิเลียมากกว่า ไนต์ลีย์เคยร่วมงานกับไรท์มาแล้วในภาพยนตร์เรื่อง Pride & Prejudice (ค.ศ. 2005) ไนต์ลีย์ต้องฝึกพูดภาษาอังกฤษสำเนียงยุค ค.ศ. 1940 เพื่อรับบทนี้ - เจมส์ แมคอาวอย รับบทเป็น ร็อบบี เทอร์เนอร์ ลูกชายแม่บ้านของตระกูลทาลลิส หลังจากปฏิเสธงานก่อนหน้านี้ ไรท์ได้เลือกแมคอาวอยเป็นร็อบบี แม้ว่าโปรดิวเซอร์จะเลือกนักแสดงไว้หลายคนเช่นเจค จิลเลนฮอล แมคอาวอยกล่าวว่าร็อบบีเป็นบทที่เล่นยากที่สุดบทหนึ่งเลยทีเดียว - เซอร์ชา โรนัน รับบทเป็น ไบรโอนี่ ทาลลิส ในวัย 13 ปี เด็กหญิงผู้ทะเยอะทะยานอยากเป็นนักเขียนและมีจินตนาการสูงส่ง เอียน แมคอีวานกล่าวชมการแสดงของเธอว่าไม่ธรรมดา โรนันได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ในสาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยมจากบทนี้ - โรโมร่า การาย รับบทเป็น ไบรโอนี่ ทาลลิส ในวัย 18 ปี ในตอนแรกผู้ที่จะได้รับบทนี้คือแอบบี คอร์นิชซึ่งปฏิเสธเพราะต้องถ่ายทำภาพยนตร์เรื่อง Elizabeth: The Golden Age โรโมร่าใช้เวลาอยู่ในกองถ่ายเพียง 4 วันเท่านั้น - วาเนสซา เรดเกรฟ รับบทเป็น ไบรโอนี่ ทาลลิส ในวัย 77 ปี เรดเกรฟได้รับการเลือกเป็นไบรโอนี่วัยชราหลังจากที่โรนันได้รับการเลือกเป็นไบรโอนี่ในวัยเด็ก ทั้งโรนัน การาย และเรดเกรฟ ต้องทำผมทรงเดียวกันและแสดงความเป็นไบรโอนี่ออกมาคล้ายคลึงกันให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ - แฮเรียต วอลเทอร์ รับบทเป็น เอมิลี่ ทาลลิส แม่และหัวหน้าครอบครัวของตระกูลทาลลิส - แพทริค เคนเนดี้ รับบทเป็น ลีออน ทาลลิส พี่ชายคนโตในบรรดาพี่น้องสามคนของตระกูลทาลลิส - เบรนดา เบลทติน รับบทเป็น เกรซ เทอร์เนอร์ แม่บ้านของตระกูลทาลลิส แม่ของร็อบบี - จูโน เทมเพิล รับบทเป็น โลล่า ควินซีย์ ลูกพี่ลูกน้องของไบรโอนี่ที่มาเยี่ยมบ้าน - ฟีลิกซ์และชาร์ลี วอน ซิมสัน รับบทเป็น น้องชายฝาแฝดของโลล่า - เบเนดิกด์ คัมเบอร์แบตช์ รับบทเป็นพอล มาร์แชล เพื่อนของลีออน เจ้าของโรงงานช็อกโกแลตงานสร้างภาพยนตร์สถานที่ถ่ายทำ งานสร้างภาพยนตร์. สถานที่ถ่ายทำ. สถานที่ถ่ายทำภาพยนตร์เรื่องตราบาปลิขิตรักส่วนมากอยู่ในประเทศอังกฤษ เช่นฉากอพยพทหารที่ดันเคิร์กถ่ายทำที่เรดคาร์เมืองตากอากาศริมทะเล, สเตรทแฮม, ทางตอนใต้ของลอนดอน ใช้ถ่ายทำฉากอพาร์ทเมนต์ของเซซิเลียหลังจากที่เธอตัดขาดจากครอบครัวแล้ว ในส่วนของคฤหาสน์ตระกูลทาลลิสถ่ายทำที่คฤหาสน์สโตรคเซย์ เขตชรอพเชียร์ ซึ่งเป็นบ้าพักส่วนบุคคลที่สร้างตั้งแต่ปี ค.ศ. 1889 เป็นคฤหาสน์สไตล์วิคตอเรียน สถานที่ถ่ายทำในลอนดอนมีทั้งถนนไวท์ฮอลล์ในเวสท์มินสเตอร์และเบธนอลกรีนทาวเวอร์ฮอลล์ซึ่งใช้เป็นฉากร้านน้ำชาในปี ค.ศ. 1939 นอกจากนี้ยังมีโบสถ์เซนต์จอห์นสมิธแสควร์ในเวสท์มินสเตอร์ที่ใช้เป็นฉากงานแต่งงานของโล่ล่ากับพอล มาร์แชล ในบางส่วนของฉากโรงพยาบาลเซนต์โธมัสถ่ายทำที่ พาร์คพาเลซ เบิร์กเชียร์ และเมืองเฮนเลย์ออนเทมส์ทางตอนใต้ของออกฟอร์ดเชียร์ ส่วนภายนอกโรงพยาบาลนั้นถ่ายทำที่มหาวิทยาลัยแห่งลอนดอน(University College London) บ้านพักตากอากาศในรูปถ่ายและในฉากสุดท้ายของภาพยนตร์ถ่ายทำที่เซเว่นซิสเตอร์ ซัสเซกส์ ทางตอนใต้ของประเทศอังกฤษการตอบรับจากสังคมรางวัลรางวัลที่ได้รับการตอบรับจากสังคม. รางวัล. รางวัลที่ได้รับ. - รางวัลออสการ์ ครั้งที่ 80: ดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ดาริโอ มาริอาเนลลี) - รางวัลภาพยนตร์แห่งอังกฤษ ครั้งที่ 61:- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม - ออกแบบงานสร้างยอดเยี่ยม - รางวัลมะเขือเทศทองคำ: ภาพยนตร์รักโรแมนติคยอดเยี่ยม - รางวัลสมาคมวิจารณ์ภาพยนตร์ฮูสตัน:- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยมหนึ่งในสิบอันดับ - ดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ดาริโอ มาริอาเนลลี) - รางวัลลูกโลกทองคำ ครั้งที่ 65:- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ประเภทภาพยนตร์ดรามา - ดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ดาริโอ มาริอาเนลลี) - รางวัลสมาคมวิจารณ์ดนตรีประกอบภาพยตร์นานาชาติ:- ดนตรีประกอบภาพยนตร์แห่งปี (ดาริโอ มาริอาเนลลี) - ดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ประเภทดรามา - เรียบเรียงดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยมแห่งปี - รางวัลภาพยนตร์และโทรทัศน์ไอริช:- นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (เซอร์ชา โรนัน) - กำกับภาพยอดเยี่ยม (ซีมัส แมคการ์วี) - รางวัลสมาคมวิจารณ์ภาพยนตร์ลาสเวกัส: นักแสดงรุ่นเยาว์หญิงยอดเยี่ยม (เซอร์ชา โรนัน) - รางวัลกลุ่มผู้วิจารณ์ภาพยนตร์แห่งลอนดอน:- นักแสดงชายอังกฤษยอดเยี่ยมแห่งปี (เจมส์ แมคอาวอย) - นักแสดงสมทบหญิงอังกฤษ (วาเนสซา เรดเกรฟ) - รางวัลนิลส์สันสาขาภาพยนตร์:- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม - ดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ดาริโอ มาริอาเนลลี) - ประดับฉากยอดเยี่ยม - ศิลปินรุ่นเยาว์ (เซอร์ชา โรนัน) - รางวัลสมาคมวิจารณ์ภาพยนตร์ฟีนิกส์:- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยมหนึ่งในสิบอันดับ - กำกับภาพยอดเยี่ยม (ซีมัส แมคการ์วี) - ดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ดาริโอ มาริอาเนลลี) - นักแสดงรุ่นเยาว์ในบทนำหรือสมทบยอดเยี่ยม (เซอร์ชา โรนัน) - รางวัลสมาคมวิจารณ์ภาพยนตร์ซานดิเอโก:- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยมหนึ่งในเจ็ดอันดับ - ตัดต่อยอดเยี่ยม (พอล ทอตฮิลล์) - รางวัลแซทเทิลไลท์ ครั้งที่ 12: บทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม (คริสโตเฟอร์ แฮมป์ตัน)รางวัลที่เสนอชื่อเข้าชิงรางวัลที่เสนอชื่อเข้าชิง. - รางวัลออสการ์ ครั้งที่ 80:- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม - นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (เซอร์ชา โรนัน) - บทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม (คริสโตเฟอร์ แฮมป์ตัน) - กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม (ซาราห์ กรีนวูด,เคที สเปนเซอร์) - กำกับภาพยอดเยี่ยม (ซีมัส แมคการ์วี) - ออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม (แจคเคอลีน เดอร์แรน) - รางวัลสมาคมผู้กำกับศิลป์ ครั้งที่12: ออกแบบงานสร้างยอดเยี่ยมในภาพยนตร์เรื่องยาว (ซาราห์ กรีนวูด) - รางวัลสมาคมช่างกล้องภาพยนตร์แห่งอเมริกา ครั้งที่22: กำกับภาพยอดเยี่ยม สาขาภาพยนตร์ (ซีมัส แมคการ์วี) - รางวัลภาพยนตร์แห่งอังกฤษ ครั้งที่ 61:- ภาพยนตร์อังกฤษยอดเยี่ยม - ผู้กำกับยอดเยี่ยม (โจ ไรท์) - บทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม (คริสโตเฟอร์ แฮมป์ตัน) - นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม (เจมส์ แมคอาวอย) - นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (เคียรา ไนต์ลีย์) - นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (เซอร์ชา โรนัน) - ดนตรีประกอบยอดเยี่ยม (ดาริโอ มาริอาเนลลี) - กำกับภาพยอดเยี่ยม (ซีมัส แมคการ์วี) - ตัดต่อยอดเยี่ยม (พอล ทอตฮิลล์) - ออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม (แจคเคอลีน เดอร์แรน) - เสียงประกอบยอดเยี่ยม (แอดนนี แฮมบรูค,พอล ฮัมบลิน,แคทเทอรีน ฮอดจ์สัน) - แต่งหน้ายอดเยี่ยม (อิวานา พรีโมแรค) - รางวัลสมาคมวิจารณ์ภาพยนตร์กระจายเสียง (BFCA):- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม - ผู้กำกับยอดเยี่ยม (โจ ไรท์) - นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (วาเนสซา เรดเกรฟ) - นักประพันธ์ดนตรียอดเยี่ยม (ดาริโอ มาริอาเนลลี) - นักแสดงรุ่นเยาว์หญิงยอดเยี่ยม (เซอร์ชา โรนัน) - รางวัลสมาคมวิจารณ์ภาพยนตร์ชิคาโก:- บทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม (คริสโตเฟอร์ แฮมป์ตัน) - กำกับภาพยอดเยี่ยม (ซีมัส แมคการ์วี) - ดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ดาริโอ มาริอาเนลลี) - รางวัลสมาคมนักออกแบบเสื้อผ้า ครั้งที่10: ออกแบบเครื่องแต่งกายสำหรับภาพยนตร์ย้อนยุคยอดเยี่ยม (แจคเคอลีน เดอร์แรน) - รางวัลสมาคมวิจารณ์ภาพยนตร์ดัลลัส-ฟอร์ท วอร์ธ (DFWFCA): นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (เซอร์ชา โรนัน) - รางวัลลูกโลกทองคำ ครั้งที่ 65:- ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (โจ ไรท์) - นักแสดงนำชายยอดเยี่ยมสาขาภาพยนตร์ดรามา (เจมส์ แมคอาวอย) - นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมสาขาภาพยนตร์ดรามา (เคียรา ไนต์ลีย์) - นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยมสาขาภาพยนตร์ดรามา (เซอร์ชา โรนัน) - บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (คริสโตเฟอร์ แฮมป์ตัน) - รางวัลสมาคมวิจารณ์ดนตรีประกอบภาพยตร์นานาชาติ: นักประพันธ์ดนตรีแห่งปี (ดาริโอ มาริอาเนลลี) - รางวัลภาพยนตร์และโทรทัศน์ไอริช:- ภาพยนตร์นานาชาติยอดเยี่ยม - นักแสดงนำชายนานาชาติยอดเยี่ยม (เจมส์ แมคอาวอย) - นักแสดงนำหญิงนานาชาติยอดเยี่ยม (เคียรา ไนต์ลีย์) - รางวัลกลุ่มผู้วิจารณ์ภาพยนตร์แห่งลอนดอน:- รางวัลแอทเทนเบอโรห์สำหรับภาพยนตร์อังกฤษแห่งปี - ผู้กำกับแห่งปี (โจ ไรท์) - นักแสดงนำหญิงอังกฤษแห่งปี (เคียรา ไนต์ลีย์) - นักแสดงสมทบหญิงอังกฤษยอดเยี่ยม (เซอร์ชา โรนัน) - นักเขียนบทภาพยนตร์แห่งปี (คริสโตเฟอร์ แฮมป์ตัน) - พัฒนาการแสดงยอดเยี่ยมแห่งอังกฤษ (เซอร์ชา โรนัน) - รางวัลม้วนฟิล์มทองคำของผู้ตัดต่อเสียงภาพยนตร์ ครั้งที่ 55: กำกับเสียงยอดเยี่ยม (เบคกี พอนทิงก์,ปีเตอร์ เบอร์จิส) - สมาคมวิจารณ์ภาพยนตร์ออนไลน์:- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม - นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (เซอร์ชา โรนัน) - บทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม (คริสโตเฟอร์ แฮมป์ตัน) - กำกับภาพยอดเยี่ยม (ซีมัส แมคการ์วี) - ตัดต่อยอดเยี่ยม (พอล ทอตฮิลล์) - ดนตรีประกอบยอดเยี่ยม (ดาริโอ มาริอาเนลลี) - รางวัลแซทเทิลไลท์:- นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม สาขาภาพยนตร์ดรามา (เคียรา ไนต์ลีย์) - นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม สาขาภาพยนตร์ดรามา (เซอร์ชา โรนัน) - ออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม (แจคเคอลีน เดอร์แรน) - ดนตรีประกอบยอดเยี่ยม (ดาริโอ มาริอาเนลลี) - รางวัลสมาคมวิจารณ์ภาพยนตร์เซนต์หลุยส์เกทเวย์:- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม - นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (เซอร์ชา โรนัน) - รองอันดับหนึ่ง กำกับภาพยอดเยี่ยม (ซีมัส แมคการ์วี) - บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (คริสโตเฟอร์ แฮมป์ตัน) - ดนตรีประกอบยอดเยี่ยม (ดาริโอ มาริอาเนลลี) - รางวัลสมาคมวิจารณ์ภาพยนตร์ตะวันออกเฉียงใต้:- ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (โจ ไรท์) - บทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม (คริสโตเฟอร์ แฮมป์ตัน) - รางวัลห้องสมุดยูเอสซี(USC): บทภาพยนตร์ดัดแปลงจากหนังสือยอดเยี่ยม (คริสโตเฟอร์ แฮมป์ตัน:บทภาพยนตร์,เอียน แมคอีวาน:หนังสือต้นฉบับ) - รางวัลสมาคมวิจารณ์ภาพยนตร์วอชิงตัน ดี.ซี.:- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม - ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (โจ ไรท์) - นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (เซอร์ชา โรนัน) - บทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม (คริสโตเฟอร์ แฮมป์ตัน) - กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม (ซาราห์ กรีนวูด) - พัฒนาการแสดงยอดเยี่ยม (เซอร์ชา โรนัน) - รางวัลไอวอร์ โนเวลโล: ดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ดาริโอ มาริอาเนลลี) - รางวัลภาพยนตร์และโทรทัศน์ลียง:- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม - ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (โจ ไรท์) - บทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม (คริสโตเฟอร์ แฮมป์ตัน) - กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม (ซาราห์ กรีนวูด,เคที สเปนเซอร์)ดนตรีประกอบ ดนตรีประกอบ. ดนตรีประกอบของภาพยนตร์เรื่องตราบาปลิขิตรัก ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงและได้รับรางวัลมากมาย ซึ่งอัลบัมดนตรีประกอบนี้ประพันธ์โดยดาริโอ มาริอาเนลลี และเล่นโดย ชอง-อีฟ ติโบเดต์นักเปียโนคลาสสิกชาวฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการร่วมมือกับโจ ไรท์เป็นครั้งที่สองหลังจากภาพยนตร์เรื่อง Pride & Prejudiceรายชื่อเพลงรายชื่อเพลง. 1. ไบรโอนี่ (Briony) - 1:46 2. ข้อความของร็อบบี (Robbie's Note) - 3:07 3. สองคนที่น้ำพุ (Two Figures By a Fountain) - 1:17 4. ซี เธอ และชา (Cee, You and Tea) - 2:27 5. ด้วยสองตาของฉันเอง(With My Own Eyes) - 4:41 6. อำลา (Farewell) - 3:32 7. จดหมายรัก (Love Letters) - 3:12 8. ครึ่งหนึ่งถูกสังหาร (The Half Killed) - 2:11 9. ช่วยฉันด้วย (Rescue Me) - 3:21 10. บทอาลัยแด่ดันเคิร์ก (Elegy for Dunkirk) - 4:16 11. กลับมา (Come Back) - 4:28 12. จุดจบ (Denouement) - 2:29 13. บ้านพักริมหาด (The Cottage on the Beach) 3:25 14. การไถ่บาป (Atonement) - 5:24 15. Suite bergamasque: Clair de lune (โคล้ด เดอบุซซี) - 4:52สื่อภายในที่พักอาศัย สื่อภายในที่พักอาศัย. ตราบาปลิขิตรักในรูปแบบดีวีดีโซน 2 ออกวางจำหน่ายวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2008 และแบบHD DVDในวันที่ 11 มีนาคม ค.ศ. 2008 ส่วนดีวีดีโซน 1 วางจำหน่ายวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ. 2008 ในประเทศไทยวางจำหน่ายทั้งในรูปแบบวีซีดีและดีวีดีในวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 2008 ภายในดีวีดีประกอบด้วยภาพยนตร์, คำอธิบายภาพยนตร์โดยผู้กำกับ โจ ไรท์, เบื้องหลังการถ่ายทำ, จากนวนิยายสู่ภาพยนตร์, ฉากที่ถูกตัดออกพร้อมคำอธิบายโดยผู้กำกับ โจ ไรท์ และตัวอย่างภาพยนตร์เรื่องอลิซาเบธ ราชินีบัลลังก์ทอง
ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์เรื่อง Atonement คืออะไร
{ "answer": [ "ตราบาปลิขิตรัก" ], "answer_begin_position": [ 104 ], "answer_end_position": [ 118 ] }
3,636
149,037
สมาคมพระคริสตธรรมไทย สมาคมพระคริสตธรรมไทย () เป็นองค์การทางศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทยที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อแปลและแจกจ่ายคัมภีร์ไบเบิลในภาษาไทย สมาคมไบเบิลไทยเป็นสมาชิกของสหสมาคมพระคริสตธรรม สมาคมแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2509 และจนถึง พ.ศ. 2548 ได้แจกจ่ายคัมภีร์ไบเบิลไปทั้งหมด 43,740 ตัวอย่าง และพันธสัญญาใหม่ 9,629 ตัวอย่างพระคริสตธรรมคัมภีร์ในภาษาไทย พระคริสตธรรมคัมภีร์ในภาษาไทย. ผลงานในการแปล แก้ไขคำแปล และตีพิมพ์ ของสมาคมพระคริสตธรรมไทย ต่อคัมภีร์ไบเบิล มีดังนี้- พระกิตติคุณลูกา ปี ค.ศ.1834 - พระกิตติคุณมัทธิว ปี ค.ศ.1834 - พระกิตติคุณมัทธิวและพระกิตติคุณลูกา ปี ค.ศ.1834 - พระกิตติคุณทั้งสี่เล่ม ปี ค.ศ.1842 - พระกิตติคุณทั้งสี่เล่ม ปี ค.ศ.1850 - พระกิตติคุณมัทธิว ปี ค.ศ.1850 - พระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม ปี ค.ศ.1883 - พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 1940 หรือ พระคัมภีร์คริสเตียน ฉบับแปลโลกใหม่ ปี ค.ศ.1940 - พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 1971 หรือ TH1971 หรือ THRS (Thai Revised Standard Version) ปี ค.ศ.1971 - พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ ประชานิยม ปี ค.ศ.1984 - พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 2011 หรือ พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน หรือ THSV (Thai Standard Version) ปี ค.ศ.2011
สมาคมพระคริสตธรรมไทยเป็นองค์การทางศาสนาคริสต์นิกายใด
{ "answer": [ "โปรเตสแตนต์" ], "answer_begin_position": [ 170 ], "answer_end_position": [ 181 ] }
3,637
149,037
สมาคมพระคริสตธรรมไทย สมาคมพระคริสตธรรมไทย () เป็นองค์การทางศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทยที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อแปลและแจกจ่ายคัมภีร์ไบเบิลในภาษาไทย สมาคมไบเบิลไทยเป็นสมาชิกของสหสมาคมพระคริสตธรรม สมาคมแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2509 และจนถึง พ.ศ. 2548 ได้แจกจ่ายคัมภีร์ไบเบิลไปทั้งหมด 43,740 ตัวอย่าง และพันธสัญญาใหม่ 9,629 ตัวอย่างพระคริสตธรรมคัมภีร์ในภาษาไทย พระคริสตธรรมคัมภีร์ในภาษาไทย. ผลงานในการแปล แก้ไขคำแปล และตีพิมพ์ ของสมาคมพระคริสตธรรมไทย ต่อคัมภีร์ไบเบิล มีดังนี้- พระกิตติคุณลูกา ปี ค.ศ.1834 - พระกิตติคุณมัทธิว ปี ค.ศ.1834 - พระกิตติคุณมัทธิวและพระกิตติคุณลูกา ปี ค.ศ.1834 - พระกิตติคุณทั้งสี่เล่ม ปี ค.ศ.1842 - พระกิตติคุณทั้งสี่เล่ม ปี ค.ศ.1850 - พระกิตติคุณมัทธิว ปี ค.ศ.1850 - พระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม ปี ค.ศ.1883 - พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 1940 หรือ พระคัมภีร์คริสเตียน ฉบับแปลโลกใหม่ ปี ค.ศ.1940 - พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 1971 หรือ TH1971 หรือ THRS (Thai Revised Standard Version) ปี ค.ศ.1971 - พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ ประชานิยม ปี ค.ศ.1984 - พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 2011 หรือ พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน หรือ THSV (Thai Standard Version) ปี ค.ศ.2011
สมาคมพระคริสตธรรมไทยก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ใด
{ "answer": [ "2509" ], "answer_begin_position": [ 328 ], "answer_end_position": [ 332 ] }
3,638
754,756
เทียนน้ำ เทียนน้ำ อยู่ในวงศ์ Balsaminaceae เป็นวัชพืชในนาข้าวในภาคกลาง พบตามหนองน้ำหรือริมคลอง ไม้ล้มลุก อายุปีเดียว ลำต้นตรงโผล่เหนือน้ำ ลำต้นเหลี่ยมกลวง ใบเดี่ยว ดอกช่อ ดอกย่อยสีชมพู ผลค่อนข้างกลม อ่อนเป็นสีเขียว แก่เป็นสีแดง ใช้เป็นยาขับลม ขับปัสสาวะ
ดอกเทียนน้ำมีสีอะไร
{ "answer": [ "ชมพู" ], "answer_begin_position": [ 263 ], "answer_end_position": [ 267 ] }
3,639
50,414
ประคอง พลหาญ นายประคอง พลหาญ (7 พฤศจิกายน 2478 - ) นายกสมาคมนักเรียนเก่ารัสเซีย อดีตรองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม และนายกสมาคมธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย คนไทยคนแรกที่สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมอสโก มหาวิทยาลัยอันดับ 1 ที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศรัสเซีย และเป็นผู้ริเริ่มบุกเบิกให้เกิดอุตสาหกรรมการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมขึ้นในประเทศไทยการศึกษา การศึกษา. นายประคอง พลหาญ สำเร็จการศึกษาทั้งระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ด้านธรณีวิทยาและการสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม และในระดับเทียบเท่าปริญญาเอก ด้านการสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียมด้วยวิธีทางธรณีเคมี จากมหาวิทยาลัยมอสโก (Lomonosov Moscow State University) ประเทศรัสเซีย และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัตร จากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 31การทำงานด้านการพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม การทำงาน. ด้านการพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม. นายประคอง พลหาญ เป็นผู้มีความคิดริเริ่มและเสนอแนะให้รัฐบาล ในสมัยรัฐบาลของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เปิดให้มีการให้สัมปทานการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย ส่งผลให้ในที่สุดเกิดอุตสาหกรรมการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมขึ้นในประเทศไทย และทำให้ประเทศไทยสามารถพึ่งพาตนเองด้านพลังงานได้มากขึ้น รวมทั้งยังทำให้เกิดอุตสาหกรรมต่อเนื่องอื่นๆ เช่น อุตสาหกรรมปิโตรเคมี เป็นต้น นอกจากนี้ นายประคอง พลหาญ ยังมีบทบาทสำคัญในการกำหนดแปลงสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในไทย และเชิญชวนเอกชนที่มีศักยภาพมาลงทุนสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในประเทศไทยการจัดตั้งหน่วยงานด้านปิโตรเลียม การจัดตั้งหน่วยงานด้านปิโตรเลียม. นายประคอง พลหาญ เป็นผู้ดำเนินการจัดตั้งหน่วยงานกำกับดูแลการสำรวจและพัฒนาปิโตรเลียมของประเทศไทย (กองเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมทรัพยากรธรณี ซึ่งต่อมาพัฒนาเป็น กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน) และได้ร่วมกับ นายพิสุทธิ์ สุทัศน์ ณ อยุธยา อดีตรองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม และอธิบดีกรมทรัพยากรธรณี ดำเนินการจัดตั้งหน่วยงานรับซื้อปิโตรเลียมจากบริษัทเอกชนที่ได้รับสัมปทานในการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในประเทศไทย (ต่อมาพัฒนาเป็น บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน))การพัฒนาบุคลากรและวิชาชีพด้านธรณีวิทยา การพัฒนาบุคลากรและวิชาชีพด้านธรณีวิทยา. นายประคอง พลหาญ เป็นผู้จดทะเบียนจัดตั้งสมาคมธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย (The Geological Society of Thailand) เพื่อเพิ่มพูนความรู้และยกระดับมาตรฐานการประกอบวิชาชีพธรณีวิทยา และสนับสนุนวิชาการเกี่ยวกับธรณีวิทยา โดยได้ดำรงตำแหน่งนายกสมาคมระหว่างปี 2531 - 2533 รวมทั้งได้รับแต่งตั้งเป็นอาจารย์พิเศษ ทำการสอนเรื่องการปิโตรเลียมและธรณีวิทยาที่ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ด้านกฎหมายปิโตรเลียม ด้านกฎหมายปิโตรเลียม. นายประคอง พลหาญ เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการร่างกฎหมายปิโตรเลียมที่สำคัญของไทย ได้แก่ พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 และยังได้ร่วมให้ความเห็นเพื่อปรับปรุงและพัฒนากฎหมายดังกล่าว ในฐานะที่ปรึกษาประจำคณะกรรมาธิการสามัญและวิสามัญด้านพลังงานของรัฐสภาหลายคณะชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. นายประคอง พลหาญ สมรสกับ พลตรีหญิงโสภาทิวัตถ์ พลหาญ มีบุตร 2 คนเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) - เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)
ใครคือคนไทยคนแรกที่สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมอสโกของรัสเซีย
{ "answer": [ "ประคอง พลหาญ" ], "answer_begin_position": [ 101 ], "answer_end_position": [ 113 ] }
3,640
5,374
มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล (; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2432 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินเปิดตึกของโรงเรียนแพทย์ จึงได้พระราชทานนามโรงเรียนแพทยากรใหม่ว่า โรงเรียนราชแพทยาลัย ในวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2460 โรงเรียนราชแพทยาลัยถูกรวมเข้ากับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภายใต้ชื่อ คณะแพทยศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และถูกเปลี่ยนชื่อเป็น คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล ในเวลาต่อมา คณะแพทย์แห่งนี้ได้รับการพัฒนาวิชาการจนได้มาตรฐานแพทยศาสตร์ศึกษาสมัยใหม่ด้วยความช่วยเหลือของมูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์ จนสามารถจัดการศึกษาถึงขั้นประสาทปริญญาบัตรได้ ภายใต้สังกัดและการประสานงานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 ในรัฐบาลจอมพลแปลก พิบูลสงคราม ได้มีการแยกคณะวิชาด้านแพทยศาสตร์ อันประกอบด้วย คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล แผนกอิสระทันตแพทยศาสตร์ แผนกอิสระเภสัชศาสตร์ และแผนกอิสระสัตวแพทยศาสตร์ พร้อมงบประมาณอันเกี่ยวข้องกับคณะวิชาดังกล่าวจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาจัดตั้งเป็น มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ถือเป็นจุดเริ่มต้นการเป็นมหาวิทยาลัยโดยสมบูรณ์ ต่อมา แผนกอิสระทันตแพทยศาสตร์ แผนกอิสระเภสัชศาสตร์ และแผนกอิสระสัตวแพทยศาสตร์ ได้กลับคืนสู่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามประกาศคณะปฏิบัติ ฉบับที่ 121 สมัยจอมพลถนอม กิตติขจร คงเหลือแต่คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล ที่ยังสังกัดมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ และเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม "มหิดล" อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ใช้แทนชื่อมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2512 มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศไทย จากการจัดอันดับของสำนักจัดอันดับหลายสำนัก และได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในหลายสาขาวิชา มหาวิทยาลัยมหิดลได้รับเลือกให้เป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ จากกระทรวงศึกษาธิการ ในปี พ.ศ. 2552 และเป็นสมาชิก เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN) ปัจจุบันมหาวิทยาลัยมหิดลจัดการเรียนการสอนใน 17 คณะ 6 วิทยาลัย 9 สถาบัน 3 วิทยาเขต และหน่วยงานต่าง ๆ รวมทั้งหมด 629 หลักสูตร โดยมีที่ตั้งหลายพื้นที่ทั้งในกรุงเทพมหานคร จังหวัดนครปฐม จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดอำนาจเจริญ ฯลฯ อดีตผู้ที่สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหิดลได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรจากพระหัตถ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดำเนินมาปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ในการพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบันสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดำเนินมาปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ในการพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหิดลประวัติ ประวัติ. มหาวิทยาลัยมหิดล มีความเป็นมาจากโรงศิริราชพยาบาล ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดสร้างขึ้นบริเวณพระราชวังบวรสถานพิมุข หรือที่เรียกว่า วังหลัง ต่อมาในปี พ.ศ. 2436 จึงมีพระบรมราชานุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนแพทย์ ณ โรงศิริราชพยาบาล และตั้งชื่อโรงเรียนแพทย์ว่า "โรงเรียนแพทยากร" จัดการเรียนการสอนในระดับประกาศนียบัตร 3 ปี หลังจากนั้น เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินเปิดตึกของโรงเรียนแพทย์ จึงได้พระราชทานนามโรงเรียนแพทยากรใหม่ว่า "โรงเรียนราชแพทยาลัย" ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นเป็น "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" จึงได้รวมโรงเรียนราชแพทยาลัยเข้าเป็นคณะหนึ่งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2460 โดยใช้ชื่อว่า "คณะแพทยศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" ต่อมา จึงเปลี่ยนชื่อเป็น "คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล" เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล มีพระบรมราชโองการให้ตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ขึ้น โดยที่สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่า สมควรกำหนดฐานะระเบียบแบบแผนสำหรับการศึกษาในกรมมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ กระทรวงการสาธารณสุข โดยแยก คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล แผนกอิสระทันตแพทยศาสตร์ แผนกอิสระเภสัชศาสตร์ และแผนกอิสระสัตวแพทยศาสตร์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดตั้งเป็น "มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์" สังกัดกระทรวงการสาธารณสุข โดยได้จัดตั้งคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยมากมาย เช่น คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเทคนิคการแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลนครเชียงใหม่ คณะอายุรศาสตร์เขตร้อน บัณฑิตวิทยาลัย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะทันตแพทยศาสตร์ พญาไท และคณะเภสัชศาสตร์ พญาไท ตามลำดับ ต่อมาได้มีการปฏิรูปครั้งใหญ่ โดยการโอนคืนคณะที่ซ้ำซ้อนต่างๆ ออกจากมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์คืนไปยังต้นสังกัดเดิม ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ไปเป็น คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลนครเชียงใหม่ ไปเป็น คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะสัตวแพทยศาสตร์ ไปเป็น คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ และคณะทันตแพทยศาสตร์ โอนกลับไปสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ให้เป็นมหาวิทยาลัยที่สมบูรณ์แบบ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า มหาวิทยาลัยมหิดล อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก แทนชื่อมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เดิม เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2550 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นผลทำให้มหาวิทยาลัยได้เปลี่ยนรูปแบบการบริหารงานเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ปัจจุบันมหาวิทยาลัยมหิดลจัดการเรียนการสอนภายในคณะ วิทยาลัย สถาบัน และหน่วยงานต่าง ๆ ครอบคลุมทั้งในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย. ตรามหาวิทยาลัย เมื่อมีการสถาปนามหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2486 ทางมหาวิทยาลัยได้ใช้ตราวงกลม 2 ชั้น ภายในเป็นรูปงูพันคบเพลิง วงนอกด้านบนเขียนว่า "อตฺตานํ อุปมํ กเร" ด้านล่างเขียนว่า "มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์" เป็นตราประจำมหาวิทยาลัยเรื่อยมา จนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชพระราชทานชื่อ "มหาวิทยาลัยมหิดล" เป็นชื่อมหาวิทยาลัยแทนชื่อเดิม ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงได้เปลี่ยนตราสัญลักษณ์ใหม่ โดยให้นายแพทย์นันทวัน พรหมผลิน เป็นผู้ออกแบบและอาจารย์กอง สมิงชัย เป็นผู้ช่วยร่างแบบ เมื่อออกแบบเสร็จแล้วจึงนำเสนอทูลเกล้าฯ เพื่อขอพระบรมราชวินิจฉัย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานแก่หม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี สถาปนิกพิเศษประจำสำนักพระราชวัง ในการปรับแก้ไขตรีและพระมหามงกุฏของตราให้เป็นแบบไทยและพระราชทานตราให้แก่มหาวิทยาลัยมหิดลเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 ซึ่งมีลักษณะเป็นวงกลม 2 ชั้น โดยวงกลมชั้นในมีพื้นหลังเป็นสีน้ำเงิน ตรงกลางเป็นตราประจำสีเหลืองทอง ส่วนวงกลมชั้นนอกนั้นมีพื้นหลังสีขาวตัวอักษรสีเหลืองทองด้านบนเขียนว่า "อตฺตานํ อุปมํ กเร" ด้านล่างเขียนว่า "มหาวิทยาลัยมหิดล" คั่นด้วยดอกประจำยามสีเหลืองทอง สีประจำมหาวิทยาลัย ได้แก่ สีน้ำเงิน เป็นสีแห่งความเป็นราชขัติยนุกูลแห่งบรมราชวงศ์ ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระราชทานเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2512 ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ได้แก่ ต้นกันภัยมหิดล ซึ่ง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ประทานพระราชวินิจฉัยชี้ขาดให้ "ต้นกันภัยมหิดล" เป็นต้นไม้สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542ทำเนียบอธิการบดีที่ตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล ที่ตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล. มหาวิทยาลัยมหิดล มีที่ตั้งในหลายพื้นที่ ได้แก่- มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร ได้แก่- มหาวิทยาลัยมหิดล บางกอกน้อย ตั้งอยู่ ณ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย เป็นที่ตั้งของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ และคณะเทคนิคการแพทย์ เป็นที่ตั้งที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2432 - มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท ตั้งอยู่ ณ แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี มี 3 บริเวณย่อย ได้แก่- บริเวณถนนพระรามที่ 6 เป็นที่ตั้งของคณะวิทยาศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้ามในนักกีฬา และคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - บริเวณถนนราชวิถี เป็นที่ตั้งของคณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน และคณะทันตแพทยศาสตร์ - บริเวณถนนศรีอยุธยา เป็นที่ตั้งของคณะเภสัชศาสตร์ - วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งอยู่ ณ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท - ศูนย์กายภาพบำบัด คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งอยู่ ณ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด - มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ตั้งอยู่ ณตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เป็นที่ตั้งของคณะกายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ วิทยาลัยนานาชาติ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา วิทยาลัยราชสุดา วิทยาลัยศาสนศึกษา โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล โรงแรม Salaya Pavilion โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล และหน่วยงานต่างๆ - สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ณ ตำบลบางปลา อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ - มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ตั้งอยู่ ณ ตำบลลุ่มสุ่ม อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี - มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ ตั้งอยู่ ณ ตำบลเขาทอง อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ - มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตอำนาจเจริญ ตั้งอยู่ ณ ตำบลโนนหนามแท่ง อำเภอเมืองอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญโครงสร้างการบริหารและการศึกษา โครงสร้างการบริหารและการศึกษา. มหาวิทยาลัยมหิดลเปิดสอนในระบบหน่วยกิต ปัจจุบันมีการจัดการเรียนการสอนและการวิจัยทั้งสิ้น 629 สาขาวิชา ครอบคลุมทั้งสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ทั้งในหลักสูตรไทยและหลักสูตรนานาชาติ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่สามารถผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาเอกได้มากที่สุดในประเทศ ในปี พ.ศ. 2548 มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยรัฐที่มีปริมาณนักศึกษาต่างชาติมากที่สุด และใน พ.ศ. 2549 และได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณประเภทธุรกิจบริการดีเด่นกลุ่มการศึกษานานาชาติจากนายกรัฐมนตรี (Prime Minister’s Export Award 2006) เพื่อประกาศเกียรติคุณมหาวิทยาลัยมหิดลในฐานะที่ได้รับความนิยมจากชาวต่างประเทศมากที่สุด (Most recognized service) ในพิธีประกาศเกียรติคุณและมอบรางวัล เมื่อวันจันทร์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล ปัจจุบันมหาวิทยาลัยมหิดล มีส่วนงานและกลุ่มภารกิจในสังกัด ประกอบด้วย สำนักงานสภามหาวิทยาลัย สำนักงานอธิการบดี 17 คณะ 9 สถาบัน 6 วิทยาลัย 3 วิทยาเขต และหน่วยงานต่างๆ นอกจากนี้ยังมีสถาบันสมทบอีกหลายสถาบัน ซึ่งนักศึกษาของบางสถาบันเข้าร่วมการเรียนการสอนกับมหาวิทยาลัยมหิดล ในขณะที่บางสถาบันมีหลักสูตรเป็นเอกเทศ ประกอบด้วยหน่วยงาน ดังนี้สำนักงานสภามหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัยมหิดล. เว็บไซต์สภามหาวิทยาลัยมหิดลสำนักงานอธิการบดีสำนักงานอธิการบดี. - กองบริหารงานทั่วไป - กองคลัง - กองทรัพยากรบุคคล - กองกิจการนักศึกษา - กองบริหารการศึกษา - กองพัฒนาคุณภาพ - ศูนย์บริหารสินทรัพย์ - ศูนย์ตรวจสอบภายใน - ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา - โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล - โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ - โครงการจัดตั้งวิทยาเขตอำนาจเจริญ- กองแผนงาน - กองบริหารงานวิจัย - กองวิเทศสัมพันธ์ - กองกฎหมาย - กองเทคโนโลยีสารสนเทศ - กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม - ศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง - ศูนย์ส่งเสริมจริยธรรมการวิจัยในคน - โครงการจัดตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา - โครงการจัดตั้งศูนย์เสริมสร้างอุตสาหกรรมชีวภาพจากนวัตกรรม (PILOT PLANT) - โครงการจัดตั้งศูนย์เศรษฐกิจสร้างสรรค์คณะคณะ. - คณะทันตแพทยศาสตร์ - คณะเทคนิคการแพทย์ - คณะพยาบาลศาสตร์ - คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี - คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล - คณะเภสัชศาสตร์ - คณะวิทยาศาสตร์ - คณะศิลปศาสตร์ - คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร- คณะวิศวกรรมศาสตร์ - คณะกายภาพบำบัด - คณะเวชศาสตร์เขตร้อน - คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ - คณะสัตวแพทยศาสตร์ - คณะสาธารณสุขศาสตร์ - คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ - บัณฑิตวิทยาลัยวิทยาลัยวิทยาลัย. - วิทยาลัยการจัดการ - วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ - วิทยาลัยนานาชาติ- วิทยาลัยราชสุดา - วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา - วิทยาลัยศาสนศึกษาสถาบันสถาบัน. - สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ - สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน - สถาบันวิจัยประชากรและสังคม - สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย- สถาบันโภชนาการ - สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล - สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว - โครงการจัดตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา - สถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมศูนย์ศูนย์. - ศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้ามในนักกีฬา - ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติกลุ่มภารกิจกลุ่มภารกิจ. - ศูนย์ความเป็นเลิศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา - ศูนย์ความเป็นเลิศด้านคณิตศาสตร์ - กลุ่มภารกิจสุขภาพโลกมหิดล - กลุ่มภารกิจการป้องกันและแก้ไขปัญหาแม่วัยรุ่น- ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมทางเคมี - ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์ - กลุ่มภารกิจศูนย์ปฏิบัติการด้านชีววิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์วิทยาเขตวิทยาเขต. - วิทยาเขตกาญจนบุรี - โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ - โครงการจัดตั้งวิทยาเขตอำนาจเจริญสถาบันสมทบ/สถาบันร่วมสถาบันสมทบ/สถาบันร่วม. - คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช - วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า - วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ - วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก - วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ - วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ - สถาบันพระบรมราชชนก สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข- โครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท- ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา - ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช - ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ จังหวัดนครสวรรค์ - ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลราชบุรี จังหวัดราชบุรี - ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ - ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา จังหวัดกาญจนบุรี- วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี- วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ - วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช - วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท - วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท - วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี - วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี - วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี - วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ศรีธัญญา - วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นนทบุรี - วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรีการบริการโรงพยาบาลการบริการ. โรงพยาบาล. - คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล- โรงพยาบาลศิริราช - โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ - สถาบันการแพทย์สยามินทราธิราช - ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก - คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี- โรงพยาบาลรามาธิบดี - สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ - คณะเวชศาสตร์เขตร้อน- โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน - คณะทันตแพทยศาสตร์- โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - โรงพยาบาลทันตกรรมมหาจักรีสิรินธร - คณะสัตวแพทยศาสตร์- โรงพยาบาลสัตว์ประศุอาทร - โรงพยาบาลปศุสัตว์และสัตว์ป่า ปศุปาลัน - วิทยาเขตนครสวรรค์- ศูนย์การแพทย์มหิดลนครสวรรค์ - คลินิกสัตว์วันเฮลท์โรงแรมโรงแรม. - โรงแรม Salaya Pavilion เป็นโรงแรมของวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อใช้เป็นสถานที่ฝึกหัดของนักศึกษาในสาขา Travel Industry Management และเปิดให้บุคคลภายนอกใช้บริการ มี 150 ห้องพัก ระบบอำนวยความสะดวกและความบันเทิงครบตามมาตรฐานโรงแรมชั้นนำของประเทศ มีห้องจัดสัมมนาและการประชุมอย่างสมบูรณ์แบบหอสมุดและคลังความรู้ หอสมุดและคลังความรู้. ห้องสมุดมหาวิทยาลัยมหิดล มีประวัติพัฒนาการเช่นเดียวกับพัฒนาการของมหาวิทยาลัย กล่าวคือ มีฐานเดิมจากแผนกห้องสมุด สำนักงานเลขานุการกรมมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ตามหลักฐานปรากฏว่า มี "ห้องอ่านหนังสือ" ของโรงแพทยากร ต่อมาในปี พ.ศ. 2468 จึงได้ตั้งเป็น "ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์" ในปี พ.ศ. 2499 ตามกฤษฎีกาการจัดวางระเบียบราชการของกรมมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ห้องสมุดมีฐานะเป็น "แผนก ห้องสมุด" ในสำนักงานเลขานุการ กรมมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ซึ่งขณะนั้นทำหน้าที่ห้องสมุดมหาวิทยาลัยและห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาลด้วย เมื่อแผนกห้องสมุดได้รับการยกฐานะเป็น "กองห้องสมุด" ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 4 สิงหาคม 2520 โดยมีฐานที่ตั้งอยู่ที่หอสมุดศิริราช และในเวลาต่อมากองห้องสมุดได้รับการสถาปนา เป็น "สำนักหอสมุด" ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 103 ตอนที่ 140 วันที่ 8 สิงหาคม 2529 มีฐานะเทียบเท่าคณะโดยรวมห้องสมุดคณะ สถาบัน ต่างๆ ในมหาวิทยาลัยให้มีการดำเนินงานที่เป็นรูปแบบในมาตรฐานเดียวกัน ลดการจัดตั้งห้องสมุดใหม่และให้ใช้ทรัพยากรต่างๆ ร่วมกันอย่างคุ้มค่ามหาวิทยาลัยได้มีนโยบายย้ายสำนักงานผู้อำนวยการสำนักหอสมุดจากอาคารหอสมุดศิริราชไปที่อาคารหอสมุดศาลายา ปัจจุบันสำนักหอสมุดให้บริการวิชาการเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนและการค้นคว้าวิจัยของอาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรตามหลักสูตรและนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยดำเนินงานระบบห้องสมุดอัตโนมัติเชื่อมโยงห้องสมุดต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยเข้าด้วยกัน มีทรัพยากรห้องสมุดในรูปแบบหลากหลาย โดยการจัดหาในรูปอิเล็กทรอนิกส์ สามารถให้บริการแบบบูรณาการแก่ห้องสมุดเครือข่ายทั้งในและนอกมหาวิทยาลัย โอกาสที่มหาวิทยาลัยปรับระบบการบริหารงานเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐจึงมีการปรับส่วนงานเพื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 20 พฤษภาคม 2552 สภามหาวิทยาลัยมหิดล ได้มีประกาศการแบ่งส่วนงานของมหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีการ เปลี่ยนชื่อ "สำนักหอสมุด" เป็น "หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล" เป็นส่วนงานหนึ่งในระดับคณะ นับเป็นก้าวสำคัญอีกครั้งในการปรับพันธกิจของ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยในยุคข้อมูลข่าวสารและสังคมฐานความรู้พื้นที่ศาลายาพื้นที่ศาลายา. - หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล - ห้องสมุดคณะเทคนิคการแพทย์ - ห้องสมุดคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ - ห้องสมุดวิทยาลัยนานาชาติ - ห้องสมุด"จิ๋ว บางซื่อ"วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ - ห้องสมุด "ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.คุณหญิง สุริยา รัตนกุล" คณะศิลปศาสตร์ - ห้องสมุดคณะกายภาพบำบัด - ห้องสมุดวิทยาลัยราชสุดา - ห้องสมุดสถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน - ห้องสมุดสถาบันวิจัยประชากรและสังคม - ห้องสมุดสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย - ห้องสมุดสถาบันโภชนาการ- ห้องสมุดคณะพยาบาลศาสตร์(ศาลายา) - ห้องสมุดโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี - ห้องสมุดคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ - ห้องสมุดคณะสัตวแพทยศาสตร์ - ห้องสมุดศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก - ห้องสมุดวิทยาลัยศาสนศึกษา - ห้องสมุดสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว - ห้องสมุดศูนย์จิตตปัญญาศึกษา - ห้องสมุดดนตรีสมเด็จพระเทพรัตน์ - ห้องสมุดกองพัฒนาคุณภาพ สำนักงานอธิการบดี - ห้องสมุดสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษาพื้นที่บางกอกน้อยพื้นที่บางกอกน้อย. - หอสมุดศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล - ห้องสมุดคณะพยาบาลศาสตร์- ห้องสมุดหอพักคณะพยาบาลศาสตร์ บางขุนนนท์พื้นที่พญาไท-วิทยาลัยการจัดการ-วิทยาลัยนานาชาติ(สาทร)พื้นที่พญาไท-วิทยาลัยการจัดการ-วิทยาลัยนานาชาติ(สาทร). - ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี - ห้องสมุดคณะเภสัชศาสตร์ - ห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร์- ห้องสมุดวิทยาเขตราชวิถี - ห้องสมุดวิทยาลัยการจัดการ - ห้องสมุดศูนย์บัณฑิตศึกษา วิทยาลัยนานาชาติวิทยาเขตและอื่นๆวิทยาเขตและอื่นๆ. - ห้องสมุดวิทยาเขตกาญจนบุรี - ห้องสมุดโรงพยาบาลปศุสัตว์และสัตว์ป่า คณะสัตวแพทยศาสตร์ - ห้องสมุดมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์- ห้องสมุดมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตอำนาจเจริญ - ห้องสมุดศูนย์วิจัยและพัฒนาวิชาการด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม (ห้องสมุดศาสตราจารย์เกียรติคุณธงชัย ปภัสราทร) อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมาพิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุแห่งปัญญา พิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุแห่งปัญญา. มหาวิทยาลัยมหิดล ถือกำเนิดขึ้นเพื่อจัดการเรียนการสอน สร้างงานด้านวิชาการ การวิจัย และการบริการแก่สังคมไทยมานานกว่า 74 ปี พัฒนาการทางประวัติศาสตร์อันยาวนานของมหาวิทยาลัยได้เดินทางไปพร้อมกับการสั่งสมคุณค่าทางปัญญานานัปการ จนเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการของไทยและนานาชาติอย่างต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยเล็งเห็นถึงความสำคัญของการอนุรักษ์คุณค่าทางประวัติศาสตร์และพัฒนาการของมหาวิทยาลัย จึงมีนโยบายพัฒนางานจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ขึ้นอย่างเป็นระบบ โดยสนับสนุนการทำงานเป็นเครือข่าย และสร้างความร่วมมือระหว่างภาคีงานจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ปัจจุบันมหาวิทยาลัยมหิดลมีหอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ที่เปิดให้บริการเพื่อเป็นประโยชน์ในการศึกษาและเผยแพร่เกียรติคุณของมหาวิทยาลัยให้เป็นที่ประจักษ์สืบไปหอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ พื้นที่ศาลายาหอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ พื้นที่ศาลายา. - ฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล - หอพระราชประวัติสมเด็จพระบรมราชชนก - หอเกียรติยศแห่งมหาวิทยาลัยมหิดล - ห้องจดหมายเหตุแผนที่และผังแม่บท - เรือนไทยมหาวิทยาลัยมหิดล - พิพิธภัณฑ์มานุษยวิทยาวัฒนธรรม- พิพิธภัณฑ์คนหูหนวกไทย - Ratchasuda Gallery - ห้องนิทรรศการถาวรประวัติและผลงานของสถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน - หอพระราชประวัติศรีสวรินทิราราชภักดี และหอพระราชประวัติบรมราชบุพการีกิตติประกาศ - พิพิธสาระประชากรและสังคมหอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ พื้นที่บางกอกน้อยหอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ พื้นที่บางกอกน้อย. - พิพิธภัณฑ์พยาธิวิทยาเอลลิส - พิพิธภัณฑ์นิติเวชศาสตร์ สงกรานต์ นิยมเสน - พิพิธภัณฑ์และห้องปฏิบัติการเรื่องราวก่อนประวัติศาสตร์ สุด แสงวิเชียร - พิพิธภัณฑ์ปรสิตวิทยา - พิพิธภัณฑ์กายวิภาคศาสตร์คองดอน - พิพิธภัณฑ์สัมผัส เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมราชินีนาถ - ห้องสมเด็จพระบรมราชชนก - ห้องมหิดลอดุลเดช หอสมุดศิริราช - หอจดหมายเหตุศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล - พิพิธภัณฑ์ประวัติการพยาบาลไทย - พิพิธภัณฑ์ศิริราชพิมุขสถานหอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ พื้นที่พญาไทหอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ พื้นที่พญาไท. - พิพิธภัณฑ์สตางค์ มงคลสุข - หอเกียรติยศนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น - หอเกียรติยศอาจารย์ดีเด่น - พิพิธภัณฑ์ยุงและคลังตัวอย่างแมลงและสัตว์ขาข้อ - เส้นทางศึกษาชีววิทยาและธรณีศาสตร์ - พิพิธภัณฑ์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ - พิพิธภัณฑ์หอย - หอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์รามาธิบดี - สิรินธรทันตพิพิธ - พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้โรคเขตร้อน - พิพิธภัณฑ์พืชสมุนไพรหอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ วิทยาเขตกาญจนบุรีหอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ วิทยาเขตกาญจนบุรี. - พิพิธภัณฑ์พืชแห่งภาคตะวันตกสถานีโทรทัศน์Mahidol Channel สถานีโทรทัศน์. Mahidol Channel. เป็นการนำเสนอเนื้อหาจากหน่วยงานต่างๆของมหาวิทยาลัยมหิดล และหน่วยงานภายนอกรางวัล รางวัล. เว็บไซต์ Youtube มอบโล่ประกาศเกียรติคุณให้แก่มหิดลแชนแนล (Mahidol Channel) โดยมหาวิทยาลัยมหิดล ช่องของสถาบันการศึกษาของไทยเพียงแห่งเดียวที่ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณเพื่อการันยอดผู้ติดตาม (subscribe) ถึง 100,000 subscribe และยอดการเข้าชมถึง 29,000,000 views (ข้อมูล ณ วันที่ 30 ตุลาคม 2558) มหิดลแชนแนล (Mahidol Channel) โดยมหาวิทยาลัยมหิดล เรายังคงมุ่งมั่นที่จะผลิตรายการสาระความรู้ดีๆ เพื่อผู้ชมทุกท่าน ดั่งปณิธานของมหาวิทยาลัยที่ว่า “ปัญญาของแผ่นดิน”งานวิจัย งานวิจัย. มหาวิทยาลัยมหิดลได้รับการยอมรับว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เน้นงานวิจัย โดยในปัจจุบันมีกลุ่มงานวิจัยใน 5 สาขาหลักด้วยกัน ได้แก่ กลุ่มวิทยาศาสตร์การแพทย์และคลินิก กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาธารณสุข กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ การจัดการ และศิลปศาสตร์ และกลุ่มภาษาและวัฒนธรรม เมื่อพิจารณาจากจำนวนผลงานทางวิชาการระดับนานาชาตินั้น พบว่า มหาวิทยาลัยมหิดลมีจำนวนผลงานทางวิชาการที่ตีพิมพ์ในระดับนานาชาติบนฐานข้อมูลของ ISI databases เป็นอันดับ 1 ติดต่อกันตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 - 2549 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในปี พ.ศ. 2548 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล นั้น มีจำนวนผลงานวิจัยเป็นอันดับ 1 เมื่อเทียบกับคณะวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในประเทศ และเป็นมหาวิทยาลัยที่ได้รับเงินทุนสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชนมากที่สุดในประเทศอันดับและมาตรฐานของมหาวิทยาลัยการประเมินคุณภาพมหาวิทยาลัย อันดับและมาตรฐานของมหาวิทยาลัย. การประเมินคุณภาพมหาวิทยาลัย. ใน พ.ศ. 2549 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้จัดอันดับมหาวิทยาลัยของประเทศไทยใน "โครงการฐานข้อมูลออนไลน์เพื่อประเมินศักยภาพของมหาวิทยาลัยไทย" โดยในภาพรวมผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยกลุ่มดัชนีชี้วัดด้านการวิจัยและกลุ่มดัชนีชี้วัดตามด้านการเรียนการสอน ซึ่งมหาวิทยาลัยมหิดลได้รับการจัดอันดับเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 1 ในด้านการเรียนการสอนของประเทศไทยได้คะแนน 61.11% จากคะแนนเต็ม 80% และเป็นอันดับ 1 ในด้านการวิจัยของประเทศไทยได้คะแนน 100.00% จากคะแนนเต็ม 100% สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษา ผลปรากฏว่าในการการประเมินครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2553) มหาวิทยาลัยมหิดลได้รับการประเมินในระดับดีมากในสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล, สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ภาควิชาภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ,สาขาวิชาชีววิทยา ภาควิชาชีววิทยา, สาขาวิชาเคมี ภาคเคมี, สาขาวิชาฟิสิกส์ ภาควิชาฟิสิกส์, สาขาวิชาพรีคลินิก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ,สาขาวิชาศัลยศาสตร์ ภาควิชาศัลยศาสตร์, สาขาวิชากายภาพบำบัด ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล, สาขาวิชาอายุรศาสตร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล และสาขาวิชาเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และในการประเมินครั้งที่ 3 (พ.ศ. 2554) มหาวิทยาลัยมหิดลได้รับการประเมินในระดับดีมากในสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ, สาขาวิชาฟิสิกส์ ภาควิชาฟิสิกส์, สาขาวิชาพรีคลินิก ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา พยาธิชีววิทยา และเภสัชวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, สาขาวิชาจุลชีววิทยาและอณูชีววิทยา สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล และสาขาวิชาเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลการจัดอันดับมหาวิทยาลัย การจัดอันดับมหาวิทยาลัย. นอกจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยหน่วยงานในประเทศไทยแล้ว ยังมีหน่วยงานจัดอันดับมหาวิทยาลัยจากต่างประเทศอีกหลายหน่วยงาน ซึ่งแต่ละหน่วยงานมีเกณฑ์การจัดอันดับและการให้คะแนนที่แตกต่างกัน ได้แก่การจัดอันดับโดย Centrum voor Wetenschap en Technologie Studies การจัดอันดับโดย Centrum voor Wetenschap en Technologie Studies. การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดย Centrum voor Wetenschap en Technologie Studies หรือ CWTS Leiden University ประจำปี 2016 ของประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยใช้เกณฑ์พิจารณาจากผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารที่ปรากฏชื่ออยู่ในฐานข้อมูล Web of Science database มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 2 ของประเทศไทย และอันดับที่ 440 ของโลกการจัดอันดับโดย Center for World University Rankings การจัดอันดับโดย Center for World University Rankings. การจัดอันดับโดย Center for World University Rankings หรือ CWUR ที่มีเกณฑ์การจัดอันดับคือ คุณภาพงานวิจัย บัณฑิตที่จบไป คุณภาพการศึกษา คุณภาพของอาจารย์ และภาควิชาต่าง ๆ ประจำปี พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 2 ของประเทศไทย และอยู่ในอันดับที่ 522 ของโลกการจัดอันดับโดย Nature Index การจัดอันดับโดย Nature Index. Nature Index ซึ่งจัดโดยวารสารในเครือ Nature Publishing Group ซึ่งเป็นวารสารทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีชื่อเสียงชั้นนำของโลก โดยการนับจำนวนบทความที่ตีพิมพ์ต่อปีในวารสารที่ในเครือ Nature Publishing Group สำหรับปี 2016 มหาวิทยาลัยมหิดลได้รับการจัดอันดับเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 2 ของประเทศไทยการจัดอันดับโดย Quacquarelli Symonds การจัดอันดับโดย Quacquarelli Symonds. แควกเควเรลลี ไซมอนด์ส หรือ QS จัดอันดับมหาวิทยาลัยในสองส่วน คือ การจัดอันดับเป็นระดับโลก(QS World University Rankings) และระดับทวีปเอเชีย(QS University Rankings: Asia) มีระเบียบวิธีจัดอันดับ ดังนี้ QS World1. ชื่อเสียงทางวิชาการ จากการสำรวจมหาวิทยาลัยทั่วโลก ผลของการสำรวจคัดกรองจาก สาขาที่ได้รับการตอบรับว่ามีความเป็นเลิศโดยมหาวิทยาลัยสามารถส่งสาขาให้ได้รับการคัดเลือกตั้งแต่ 2 สาขาขึ้นไป โดยจะมีผู้เลือกตอบรับเพียงหนึ่งสาขาจากที่มหาวิทยาลัยเลือกมา 2. การสำรวจผู้ว่าจ้าง เป็นการสำรวจในลักษณะคล้ายกับในด้านชื่อเสียงทางวิชาการแต่จะไม่แบ่งเป็นคณะหรือสาขาวิชา โดยนายจ้างจะได้รับการถามให้ระบุ 10 สถาบันภายในประเทศ และ 30 สถาบันต่างประเทศที่จะเลือกรับลูกจ้างที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันนั้น ๆ รวมถึงคุณสมบัติสำคัญที่ต้องการ 2 ข้อ 3. งานวิจัยที่อ้างต่อ 1 ชิ้นรายงาน โดยข้อมูลที่อ้างอิงจะนำมาจาก Scopus ในระยะ 5 ปี 4. H-index ซึ่งคือการชี้วัดจากทั้งผลผลิต และ อิทธิพลจากการตีพิมพ์ผลงานทั้งจากนักวิทยาศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ โดยในปี พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการจัดให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 2 ของประเทศไทย และเป็นอันดับที่ 334 ของโลก น้ำหนักการชี้วัด การแบ่งคะแนนจะต่างกันในแต่ละสาขาวิชา เช่น ทางด้านการแพทย์ ซึ่งเป็นสาขาที่มีอัตราการเผยแพร่งานวิจัยสูง การวัดการอ้างอิงและh-index ก็จะคิดเป็น 25 เปอร์เซนต์ สำหรับแต่ละมหาวิทยาลัย ในทางกลับกันสาขาที่มีการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการที่น้อยกว่า เช่น สาขาประวัติศาสตร์ จะคิดเป็นร้อยละที่ต่ำกว่าคือ 15 เปอร์เซนต์ จากคะแนนทั้งหมด ในขณะเดียวกันสาขาศิลปะและการออกแบบ ซึ่งมีผลงานตีพิมพ์น้อยก็จะใช้วิธีการวัดจากผู้ว่าจ้างและการสำรวจด้านวิชาการ QS Asia1. ชื่อเสียงทางวิชาการ (30 เปอร์เซนต์) เป้าหมายของตัวชี้วัดนี้เพื่อจะบอกว่ามหาวิทยาลัยใดมีชื่อเสียงในในระดับนานาชาติ 2. การสำรวจผู้จ้างงาน (20 เปอร์เซนต์) 3. อัตราส่วนของคณะต่อนักศึกษา (15 เปอร์เซนต์) วัดจากอัตราส่วนของบุคลากรทางการศึกษาต่อจำนวนนักศึกษา และการติดต่อและให้การสนับสนุนของบุคลากรที่มีต่อนักศึกษา 4. การอ้างอิงในรายงาน (10 เปอร์เซนต์) และผลงานของคณะ (10 เปอร์เซนต์) เป็นการรวมทั้งงานที่อ้างอิงใน scopusและ การตีพิมพ์ผลงานโดยคณะนั้นๆเอง 5. บุคลากรระดับดุษฎีบัณฑิต (5 เปอร์เซนต์) 6. สัดส่วนคณะที่เป็นหลักสูตรนานาชาติ (2.5 เปอร์เซนต์) และนักศึกษาต่างชาติ (2.5 เปอร์เซนต์) 7. สัดส่วนของรับนักศึกษาและเปลี่ยนที่เข้ามาศึกษา (2.5 เปอร์เซนต์) และการส่งนักศึกษาออกไปแลกเปลี่ยน (2.5 เปอร์เซนต์) โดยมหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการจัดให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 2 ของประเทศไทย และเป็นอันดับที่ 58 ของเอเชียการจัดอันดับโดย QS World University Rankings by Subject การจัดอันดับโดย QS World University Rankings by Subject. การจัดอันดับมหาวิทยาลัยของ QS World University Rankings by Subject ประจำปี พ.ศ. 2560 ได้มีสาขาวิชาต่างๆ ที่ติดอันดับของโลก ดังนี้ อันดับที่ 101 – 150 ของโลก ได้แก่ สาขา Medicine, Pharmacy & Pharmacology, อันดับที่ 201 – 250 ของโลก ได้แก่ สาขา Biological Sciences, Linguistics อันดับที่ 251 – 300 ของโลก ได้แก่ สาขา Sociology อันดับที่ 351 – 400 ของโลก ได้แก่ สาขา Chemistry , Social Sciences and Management (399) และยังมีสาขาวิชา Anatomy & Physiology, Biological Sciences, Medicine, Nursing, Pharmacy & Pharmacology, Sociology และ Theology, Divinity & Religious Studies ที่ได้รับการจัดอันดับเป็นอันดับที่ 1 ของประเทศไทยการจัดอันดับโดย QS Graduate Employability Rankings 2018 การจัดอันดับโดย QS Graduate Employability Rankings 2018. เป็นการจัดอันดับคุณภาพการจ้างงานของบัณฑิต โดยพิจารณาจาก ชื่อเสียงและความเชื่อมั่นของผู้จ้างงาน ผลผลิตของบัณฑิต อัตราการจ้างงานบัณฑิต เป็นต้น มหาวิทยาลัยมหิดลได้รับการจัดอันดับเป็นอันดับ 2 ในประเทศไทยและอยู่ในช่วงอันดับ 301 - 500 ของโลกการจัดอันดับโดย Round University Rankings การจัดอันดับโดย Round University Rankings. การจัดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก Round University Rankings 2016 โดย RUR Rankings Agency ของประเทศรัสเซีย เป็นการจัดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก (a ranking of leading world universities) ในปี ค.ศ. 2016 มีเกณฑ์ที่ใช้ในการจัดอันดับโดยการพิจารณาตามพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัยในระดับสากล 4 ด้าน 20 ตัวชี้วัด คือด้านการสอน (Teaching) 5 ตัวชี้วัด คิดเป็น 40% การวิจัย (Research) 5 ตัวชี้วัด 40% ด้านความเป็นนานาชาติ (International Diversity) 5 ตัวชี้วัด 10% และด้านความยั่งยืนทางการเงิน (Financial Sustainability) 5 ตัวชี้วัด 10% มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 2 ของประเทศไทย และอันดับที่ 484 ของโลกการจัดอันดับโดย SCImago Institutions Ranking การจัดอันดับโดย SCImago Institutions Ranking. อันดับมหาวิทยาลัยโดย SCImago Institutions Ranking หรือ SIR ซึ่งเป็นการจัดอันดับสถาบันที่มีผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ ซึ่งจะไม่ใด้นับเฉพาะมหาวิทยาลัย แต่จะนับสถาบันเฉพาะทางด้วย เช่น สถาบันเทคโนโลยี วิทยาลัย โรงพยาบาล ในปี พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยมหิดลได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับที่ 450 ของโลก และเป็นอันดับ 1 ของประเทศไทยการจัดอันดับโดย The Times Higher Education การจัดอันดับโดย The Times Higher Education. การจัดอันดับโดย The Times Higher Education หรือ THE ที่จัดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก (Times Higher Education World University Rankings) , จัดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นนำของเอเชีย (Times Higher Education Asia University Rankings) และการจัดอันดับมหาวิทยาลัยประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ (BRICS & Emerging Economies Rankings) มีระเบียบวิธีจัดอันดับ ดังนี้ THE World1. Teaching: The learning environment (30%) คุณภาพการสอน สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ของผู้เรียน 2. Research: Volume, income, reputation (30%) คุณภาพงานวิจัย ปริมาณ รายได้ และชื่อเสียงของงานวิจัย 3. Citations: Research influence (30%) การอ้างอิงในงานวิจัย การนำงานวิจัยของสถาบันไปใช้อ้างอิง 4. International outlook: staff, students,research (7.5%) ความเป็นนานาชาติจากสายตาภายนอก เจ้าหน้าที่, นักศึกษาและงานวิจัยนานาชาติ 5. Industry income: knowledge transfer (2.5%) รายได้ทางอุตสาหกรรม นวัตนกรรมที่เป็นสิ่งใหม่ในวงวิชาการที่มหาวิทยาลัยได้คิดค้นขึ้น โดยในปี พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยมหิดลได้รับการจัดอันดับอยู่ที่ช่วงอันดับที่ 501-600 เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย THE Asia1. Teaching: The learning environment (25%) คุณภาพการสอน สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ของผู้เรียน 2. Research: Volume, income, reputation (30%) คุณภาพงานวิจัย ปริมาณ รายได้ และชื่อเสียงของงานวิจัย 3. Citations: Research influence (30%) การอ้างอิงในงานวิจัย การนำงานวิจัยของสถาบันไปใช้อ้างอิง 4. International outlook: Staff, students and research (7.5%) ความเป็นนานาชาติจากสายตาภายนอก เจ้าหน้าที่, นักศึกษาและงานวิจัยนานาชาติ 5. Industry income: knowledge transfer (7.5%) ความสามารถของมหาวิทยาลัยในการมีส่วนช่วยภาคอุตสาหกรรม ด้วยนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และการให้คำปรึกษา ถ่ายทอดความรู้สู่ภาคอุตสาหกรรม วัดจาก รายได้ทางอุตสาหกรรมจากงานวิจัย ที่มหาวิทยาลัยได้คิดค้นขึ้น โดยในปี พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยมหิดลได้รับการจัดอันดับอยู่ที่ช่วงอันดับที่ 97 ของเอเชีย และเป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย THE Asia-Pacific1. Teaching: The learning environment (30%) คุณภาพการสอน สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ของผู้เรียน 2. Research: Volume, income, reputation (30%) คุณภาพงานวิจัย ปริมาณ รายได้ และชื่อเสียงของงานวิจัย 3. Citations: Research influence (30%) การอ้างอิงในงานวิจัย การนำงานวิจัยของสถาบันไปใช้อ้างอิง 4. International outlook: staff, students,research (7.5%) ความเป็นนานาชาติจากสายตาภายนอก เจ้าหน้าที่, นักศึกษาและงานวิจัยนานาชาติ 5. Industry income: knowledge transfer (2.5%) รายได้ทางอุตสาหกรรม นวัตนกรรมที่เป็นสิ่งใหม่ในวงวิชาการที่มหาวิทยาลัยได้คิดค้นขึ้น โดยในปี พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยมหิดลได้รับการจัดอันดับอยู่ที่ช่วงอันดับที่ 101–110 เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย BRICS & Emerging Economies การจัดอันดับมหาวิทยาลัยประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ (BRICS & Emerging Economies Rankings)1. Teaching: The learning environment (30%) สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ของผู้เรียน ผลสำรวจด้านชื่อเสียง คุณภาพการสอน สัดส่วนจำนวนอาจารย์ต่อนักศึกษา 2. Research: Volume, Income, Reputation (30%) คุณภาพงานวิจัย ปริมาณ รายได้ และชื่อเสียงของงานวิจัย 3. Citations: Research influence (20%) การอ้างอิงในงานวิจัย การนำงานวิจัยของสถาบันไปใช้อ้างอิง 4. International outlook: Staff, Students and Research (10%) ความเป็นนานาชาติจากสายตาภายนอก อาจารย์ นักศึกษา งานวิจัยนานาชาติ และความร่วมมือกับต่างประเทศ 5. Industry income: knowledge transfer (10%) รายได้ทางอุตสาหกรรม นวัตนกรรมที่เป็นสิ่งใหม่ในวงวิชาการที่มหาวิทยาลัยได้คิดค้นขึ้น โดยในปี 2017 มหาวิทยาลัยมหิดลได้รับการจัดอันดับอยู่ที่ช่วงอันดับที่ 76 ของโลก และเป็นอันดับ 1 ของประเทศไทยการจัดอันดับโดย University Ranking by Academic Performance การจัดอันดับโดย University Ranking by Academic Performance. อันดับที่จัดโดย University Ranking by Academic Performance หรือ URAP ปี พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัมมหิดลได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย และอันดับ 432 ของโลก โดยมีพื้นฐานทางด้านวิชาการตรงตามกฎเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คุณภาพและปริมาณของบทความตีพิมพ์ทางวิชาการ บทความวิจัย การเผยแพร่ และการอ้างอิงการจัดอันดับโดย U.S. News & World Report การจัดอันดับโดย U.S. News & World Report. U.S. News & World Report นิตยสารการจัดอันดับมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับมากที่สุดของสหรัฐอเมริกา ได้ประกาศผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกล่าสุด “Best Global Universities Rankings 2018” จากการสำรวจมหาวิทยาลัย 60 ประเทศทั่วโลก และมีเกณฑ์จัดอันดับหลายด้าน เช่น ชื่อเสียงการวิจัยในระดับโลก และระดับภูมิภาค สื่อสิ่งพิมพ์ การถูกนำไปอ้างอิง ความร่วมมือระหว่างประเทศ จำนวนบุคลากรระดับปริญญาเอก เป็นต้น โดยมีมหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับ 6 แห่ง และมหาวิทยาลัยมหิดลถูกจัดอันดับให้เป็นอันดับที่ 1 ของประเทศไทย และอันดับที่ 509 ของโลกอันดับของมหาวิทยาลัยในด้านอื่นๆการจัดอันดับโดย UI Green Metric World University Ranking อันดับของมหาวิทยาลัยในด้านอื่นๆ. การจัดอันดับโดย UI Green Metric World University Ranking. เป็นการจัดอันดับมหาวิทยาลัยสีเขียวที่จัดโดยมหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อสนับสนุนการเป็นมหาวิทยาลัยยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมทั่วโลก มหาวิทยาลัยมหิดลได้รับการจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวอันดับ 1 ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย และเป็นอันดับที่ 86 ของโลกการจัดอันดับโดย Webometrics การจัดอันดับโดย Webometrics. การจัดอันดับมหาวิทยาลัยของเว็บโอเมตริกซ์ ประจำปี พ.ศ. 2561 จัดทำขึ้นเพื่อแสดงความตั้งใจของสถาบันต่าง ๆ ในการเผยแพร่ความรู้สู่เว็บ และเป็นความริเริ่มเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงความรู้อย่างเปิดกว้าง (Open Access) ทั่วโลก อันดับ Webometrics จะบอกถึงปริมาณและคุณภาพของสิ่งตีพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ในเว็บไซต์ของสถาบัน โดยพิจารณาจากจำนวน Link ที่เชื่อมโยงเข้าสู่เว็บนั้น ๆ จากเว็บภายนอกโดยวัดจากการสืบค้นด้วยSearch Engine และนับจำนวนเอกสารตีพิมพ์ออนไลน์ในกลุ่มของไฟล์ .pdf .ps .ppt และ .doc และจำนวนเอกสารที่มีการอ้างอิง (Citation) แบบออนไลน์ผ่านกูเกิลสกอลาร์ (Google Scholar) โดยจะจัดอันดับปีละ 2 ครั้ง ได้แก่ เดือนมกราคม และ เดือนกรกฎาคม โดยล่าสุดการจัดอันดับรอบที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2561 มหาวิทยาลัมมหิดลได้รับการจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 1 ของประเทศไทย และอยู่ในอันดับที่ 548 ของโลกการจัดอันดับโดย 4 International Colleges & Universities การจัดอันดับโดย 4 International Colleges & Universities. การจัดอันดับของ 4 International Colleges & Universities หรือ 4ICU เป็นการจัดอันดับความนิยมของเว็บไซต์มหาวิทยาลัย ในปี 2018 มหาวิทยาลัยมหิดลได้รับการจัดอันดับความนิยมเว็บไซต์เป็นอันดับที่ 1 ของประเทศไทยและอันดับ 568 ของโลกชีวิตในมหาวิทยาลัย ชีวิตในมหาวิทยาลัย. นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ของมหาวิทยาลัยมหิดล จะเข้าศึกษา ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ร่วมกันเป็นเวลาหนึ่งปีหรือนานกว่า จากนั้นแยกย้ายกันไปตามคณะของตนตามพื้นที่ต่างๆ บรรยากาศในการใช้ชีวิตของนักศึกษามีความหลากหลายมากเพราะนักศึกษาแต่ละคนมาจากต่างคณะกัน เช่น แพทยศาสตร์ ดุริยางคศิลป์ วิทยาศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ แต่ได้ใช้ชีวิตร่วมกันในปีแรก มีกิจกรรมมากมายเช่น งานรักน้อง การเชียร์แสตนด์ งานอำลาศาลายา งานวันมหิดล เป็นต้น มีสถานที่ออกกำลังกายและลานกีฬาให้นักศึกษาได้เลือกตามความต้องการ บรรยากาศในศาลายาจะมีจุดเด่นคือ การสัญจรหลักของนักศึกษาคือจักรยานหรือรถราง รวมถึงรถรับส่งระหว่างพื้นที่ต่างๆ จากพื้นที่ศาลายาไปยังพื้นที่ในกรุงเทพมหานครและเมื่อเข้าใกล้ช่วงสอบในแต่ละภาคเรียน จะพบนักศึกษาจำนวนมากที่นั่งอ่านทบทวนหนังสือตามสถานที่ต่างๆ ท่ามกลางบรรยากาศธรรมชาติรอบมหาวิทยาลัยการพักอาศัยของนักศึกษามหิดล การพักอาศัยของนักศึกษามหิดล. ที่พักอาศัยสำหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา) จะเรียกว่า บ้านมหิดล โดยบริเวณที่พักมีการจัดเป็นสัดส่วน อยู่บริเวณทางด้านหลัง ใกล้ๆ กับศูนย์การเรียนรู้มหิดล (Mahidol Learning Center) บ้านมหิดล ดำเนินการภายใต้วิสัยทัศน์ การให้บริการระดับโลก Know what is needed, go extra miles and be advocate และ พันธกิจคือ ให้บริการและจัดสวัสดิการรวมทั้งสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยอย่างเป็นสุข ประกอบไปด้วย อาคารหอพัก 6 อาคาร ดังนี้1. บ้านพุทธรักษา (หอ1-2) 2. บ้านอินนิล (หอ3-4) 3. บ้านชัยพฤกษ์ (หอ6-7) 4. บ้านกันภัยมหิดล (หอ8-9) 5. บ้านลีลาวดี (หอ10) 6. บ้านศรีตรัง (หอ11) หอพักหญิง- บ้านพุทธรักษา (หอ1-2) เป็นอาคารแฝดสูง 4 ชั้น สองอาคารเชื่อมต่อกัน นักศึกษาพักได้ 4 คนต่อห้อง - บ้านลีลาวดี (หอ10) เป็นอาคารเดียวสูง 4 ชั้น เชื่อมต่อกัน นักศึกษาพักได้ 4 คนต่อห้อง - บ้านศรีตรัง (หอ11) เป็นอาคารเดียวสูง 14 ชั้น เชื่อมต่อกัน นักศึกษาพักได้ 4 คนต่อห้อง หอพักชาย- บ้านอินนิล (หอ3-4) เป็นอาคารแฝดสูง 4 ชั้น สองอาคารเชื่อมต่อกัน นักศึกษาพักได้ 2 คนต่อห้อง - บ้านชัยพฤกษ์ (หอ6-7) เป็นอาคารแฝดสูง 4 ชั้น สองอาคารเชื่อมต่อกัน นักศึกษาพักได้ 2 คนต่อห้อง - บ้านกันภัยมหิดล (หอ8-9) เป็นอาคารแฝดสูง 4 ชั้น สองอาคารเชื่อมต่อกัน นักศึกษาพักได้ 4 คนต่อห้อง การบริการหอพักให้แก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล โดยภาพรวมแบ่งได้ดังนี้พื้นที่ศาลายาพื้นที่ศาลายา. - บ้านมหิดล - หอพักพยาบาลรามาธิบดี - หอพักสถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน - หอพักสถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล - หอพักวิทยาลัยนานาชาติ- วิทยาลัยราชสุดา - หอพักน้ำทองสิกขาลัย วิทยาลัยศาสนศึกษา - อาคารชุดพักอาศัย (คอนโดมิเนียม) - โรงแรมศาลายาพาวิลเลียนพื้นที่อื่นๆพื้นที่อื่นๆ. - หอพักคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล - หอพักคณะพยาบาลศาสตร์ บางขุนนนท์ - หอพักคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี - หอพักคณะเวชศาสตร์เขตร้อน- หอพักวิทยาเขตกาญจนบุรี - หอพักวิทยาเขตนครสวรรค์ - หอพักวิทยาเขตอำนาจเจริญการเดินทาง การเดินทาง. นักศึกษา บุคคลากร และประชาชนทั่วไปสามารถเดินทางมายังมหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ได้ดังนี้รถร่วมบริการ/รถประจำทางรถร่วมบริการ/รถประจำทาง. - สาย 84ก วงเวียนใหญ่ - หมู่บ้านเอื้ออาทรศาลายา (04:30 - 21:30) - สาย 124 สนามหลวง - ม.มหิดล ศาลายา (04.00 – 21.00 น.) - สาย 125 สถานีรถไฟสามเสน - ม.มหิดล ศาลายา - สาย 164 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ - ม.มหิดล ศาลายา - สาย 388 ปากเกร็ด สนามบินน้ำ บางบัวทอง บางใหญ่ - ม.มหิดล ศาลายา - สาย ปอ.515 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ - ม.มหิดล ศาลายา ขึ้นได้ที่อนุเสาวรีย์ ป้ายหน้า รพ.ราชวิถี (05.00 – 22.00 น.) - สาย ปอ.547 สีลม - ม.มหิดล ศาลายา ถ.เพชรเกษม เข้า ถ.พุทธมณฑล สาย 4 - R26E สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์-โรงพยาบาลรามาธิบดี (ทางด่วน) - Y70E มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ศาลายา-สถานีรถไฟฟ้าหมอชิต (ทางด่วน)รถตู้ปรับอากาศรถตู้ปรับอากาศ. - รถตู้ปรับอากาศ สายอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ – ม.มหิดล ศาลายา (สามารถขึ้นได้ที่หน้าร้านวัตสัน ฝั่งเกาะพญาไท) - รถตู้ปรับอากาศ สายเซ็นทรัลปิ่นเกล้า – ม.มหิดล ศาลายารถศาลายาลิงก์รถศาลายาลิงก์. - รถศาลายาลิงก์ (Salaya Links) ม.มหิดล ศาลายา - BTS บางหว้า เป็นรถไมโครบัสสีขาวคาดน้ำเงิน มีโลโก้มหาวิทยาลัยมหิดล Shuttle Bus ซึ่งขับวนรับส่งจาก ม.มหิดล ศาลายา มายังสถานี รถไฟฟ้า BTS บางหว้า ใครเดินทางมาจาก BTS ให้ออกจาก BTS ที่ทางออกที่ 1-2 จะเจอรถศาลายาลิงก์ จอดอยู่ตรงบริเวณป้ายรถเมล์ ค่าโดยสาร 30 บาทรถไฟ รถไฟ. เส้นทางรถไฟ-รถไฟสายใต้ ขึ้นได้ที่สถานีรถไฟธนบุรี (ใกล้ รพ.ศิริราช) หรือสถานีรถไฟหัวลำโพง(สถานีรถไฟกรุงเทพ) หรือสถานีรถไฟนครปฐม โดยขบวนเที่ยวต่างๆ จะผ่านสถานีศาลายา ให้ลงที่สถานีศาลายาแล้วเข้าทางประตู 5 มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายารถส่วนตัว รถส่วนตัว. มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ตั้งอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 20 กิโลเมตร สามารถเดินทางมาได้หลายเส้นทาง ตามนี้- สนามบินสุวรรณภูมิ – ม.มหิดล ศาลายา จาก ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ – ออกมาทางทิศใต้ เข้าสู่ ถ.บางนา-ตราด (ใต้ทางด่วนบูรพาวิถี) – เข้าสู่ ถ.วงแหวนตะวันออก (สาย 9) – ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่สะพานกาญจนาภิเษก – เข้าสู่ ถ.วงแหวนตะวันตก (สาย 9) – เข้าสู่ ถ.บรมราชชนนี หรือ ถ.ปิ่นเกล้า–นครชัยศรี (สาย 338) – เข้าสู่ ถ.พุทธมณฑล สาย 4 – เข้าประตู 3 ของ ม.มหิดล ศาลายา- สนามบินดอนเมือง – ม.มหิดล ศาลายา จาก ท่าอากาศยานดอนเมือง – มาตาม ถ.วิภาวดีรังสิต (ใต้ทางด่วนโทลเวย์) – เข้าสู่ ถ.รัชดาภิเษก ถ.วงศ์สว่าง – ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่สะพานพระราม 7 – ถ.จรัญสนิทวงศ์ – ถ.สิรินธร – เข้าสู่ ถ.บรมราชชนนี (หรืออาจขึ้นทางคู่ขนานลอยฟ้า) – เข้าสู่ ถ.พุทธมณฑล สาย 4 – เข้าประตู 3 ของ ม.มหิดล ศาลายา- สถานีขนส่งเอกมัย – ม.มหิดล ศาลายา จาก สถานีขนส่งเอกมัย – ถ.สุขุมวิท – เลี้ยวซ้ายเข้า ถ.สุขุมวิท 21 (หรือ ถ.รัชดาภิเษก) – เลี้ยวขวาเข้าสู่ ถ.พระราม 4 – ขึ้นทางด่วนที่ ‘ด่านพระราม 4 ที่ 1’ – ไปตามทางพิเศษเฉลิมมหานคร – ข้ามสะพานพระราม 9 – ลงทางด่วนเข้าสู่ ถ.พระราม 2 – เข้าสู่ ถ.วงแหวนตะวันตก (สาย 9) – เข้าสู่ ถ.บรมราชชนนี หรือ ถ.ปิ่นเกล้า–นครชัยศรี (สาย 338) – เข้าสู่ ถ.พุทธมณฑล สาย 4 – เข้าประตู 3 ของ ม.มหิดล ศาลายา- สถานีขนส่งหมอชิต – ม.มหิดล ศาลายา จาก สถานีขนส่งหมอชิต – มาตาม ถ.กำแพงเพชร 2 – เข้าสู่ ถ.รัชดาภิเษก – ถ.วงศ์สว่าง – ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่สะพานพระราม 7 – ถ.จรัญสนิทวงศ์ – ถ.สิรินธร – เข้าสู่ ถ.บรมราชชนนี (หรืออาจขึ้นทางคู่ขนานลอยฟ้า) – เข้าสู่ ถ.พุทธมณฑล สาย 4 – เข้าประตู 3 ของ ม.มหิดล ศาลายา- สถานีขนส่งสายใต้ – ม.มหิดล ศาลายา จากสถานีขนส่งสายใต้ – มาตาม ถ.บรมราชชนี (ทิศทางไป จ.นครปฐม) – เข้าสู่ ถ.พุทธมณฑล สาย 4 – เข้าประตู 3 ของ ม.มหิดล ศาลายา- สถานีรถไฟกรุงเทพฯ (หัวลำโพง) – ม.มหิดล ศาลายา จาก สถานีรถไฟกรุงเทพฯ (หัวลำโพง) – เข้า ถ.เยาวราช – ถ.จักรเพชร – ข้ามสะพานพระปกเกล้า – ถ.ประชาธิปก – ผ่านวงเวียนใหญ่ – ถ.อินทรพิทักษ์ – ถ.เพชรเกษม – ผ่านแยกท่าพระ – เลี้ยวขวาเข้าสู่ ถ.ราชพฤกษ์ – เลี้ยวซ้ายเข้าสู่ ถ.บรมราชชนนี – เข้าสู่ ถ.พุทธมณฑล สาย 4 – เข้าประตู 3 ของ ม.มหิดล ศาลายารถราง (Tram) ภายในมหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา รถราง (Tram) ภายในมหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา. รถราง หรือ รถแทรม เป็นยานพาหนะที่ให้บริการ(ฟรี) แก่ นักศึกษา บุคคลากร และช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องในมหาวิทยาลัยมหิดลศาลายา เพื่อลดการใช้ยานพาหนะส่วนตัวภายในมหาวิทยาลัย ให้บริการทั้งหมด 4 สาย ดังนี้- รถรางสายสีเขียว บ้านมหิดล - สวนเจ้าฟ้า - คณะวิทยาศาสตร์ - ลานมหิดล - คณะสังคมศาสตร์ฯ - วิทยาลัยนานาชาติ - สำนักงานอธิการบดี - คณะวิศวกรรมศาสตร์ - คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - หอสมุด - คณะสิ่งแวดล้อมฯ - สถาบันวิจัยโภชนาการ - วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา - อาคารอเนกประสงค์ (โรงพละ) - บ้านมหิดล- รถรางสายสีน้ำเงิน บ้านมหิดล - อาคารอนุรักษ์ - ลานจอดรถ4 - คณะสัตวแพทย์ - สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว - คอนโด - สนามฟุตบอล3 - คณะศิลปศาสตร์ - คณะกายภาพบำบัด - โรงเรียนพยาบาลรามาธิปดี - คณะเทคนิคการแพทย์ - สถาบันวิจัยประชากรและสังคม - สถาบันโมเลกุล - ประตู3 - สำนักงานอธิการบดี - สถาบันอาเซียน - เรือนไทย - ศูนย์ศาลายา - ลานจอดรถ2 - อุทยานสิรีรุกชาติ - บ้านมหิดล- รถรางสายสีแดง บ้านมหิดล - สวนเจ้าฟ้า - คณะวิทยาศาสตร์ - เรือนศิลปิน - วิทยาลัยดุริยางค์ - ลานจอดรถ2 - ลานมหิดล - คณะสังคมศาสตร์ - วิทยาลัยนานาชาติ - สำนักงานอธิการบดี - คณะวิศวกรรมศาสตร์ - แปลงผักปลอดสารพิษ - โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี - หอพักพยาบาลรามาธิบดี - คอนโด - สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว - คณะศาสนศึกษา - สนามเปตอง - อาคารอเนกประสงค์ (โรงพละ) - บ้านมหิดล- รถรางสายสีเหลือง อาคารศูนย์การเรียนรู้ - คณะวิทยาศาสตร์ - เรือนศิลปิน - วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ - ลานจอดรถ2 - ลานมหิดล - คณะสังคมศาสตร์ - วิทยาลัยนานาชาติ - สำนักงานอธิการบดี - สถาบันสุขภาพอาเซียน - เรือนไทย - ศูนย์ศาลายา - ลานจอดรถ4จักรยานสาธารณะ จักรยานสาธารณะ. มหาวิทยาลัยมหิดลมีจักรยานสาธารณะให้บริการแก่นักศึกษา บุคลากรและประชาชนทั่วไป มีชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า จักก้า นักศึกษา บุคลากรและประชาชนสามารถยืมจักรยานฟรีได้ที่ จักก้า เซ็นเตอร์ ตั้งอยู่หน้าหอพักนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา โดยต้องแลกบัตรนักศึกษาหรือบัตรประชาชนวันสำคัญของมหาวิทยาลัยมหิดลวันสำคัญของมหาวิทยาลัยมหิดล. - วันมหิดล ตรงกับวันที่ 24 กันยายนของทุกปี อันเป็นวันคล้ายวันสวรรคตของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของไทย โดยคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ประกาศให้วันดังกล่าวเป็นวันมหิดลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2494 เพื่อเป็นการถวายสักการะ และแสดงกตัญญูกตเวทีต่อพระองค์ท่าน เพราะพระราชกรณียกิจที่ได้รทรงบำเพ็ญแก่วงการแพทย์ และการสาธารณสุขของประเทศไทยตลอดระยะเวลา 12 ปีนั้นได้เสริมสร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่โรงเรียนแพทย์และพัฒนาการเรียนการสอนตลอดจนการผลิตแพทย์ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพอันเป็นการวางรากฐานแก่การแพทย์และการสาธารณสุขให้เจริญพัฒนาก้าวหน้าทัดเทียมอารยะประเทศในกาลต่อมา - วันพระราชทานนามมหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดลมีประวัติศาสตร์ยาวนานถึง 127 ปี นับแต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) พระราชทานกำเนิดโรงศิริราชพยาบาล เมื่อปี พ.ศ. 2431 พัฒนาเป็นราชแพทยาลัย โรงเรียนแพทย์แห่งแรกของประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2433 และได้รับการสถาปนาเป็นมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2486 ประวัติศาสตร์ของมหาวิทยาลัยมหิดลเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานพระนามาภิไธย "มหิดล" ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ให้เป็นนามใหม่ของมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2512 และได้พระราชทานพระบรมราโชวาทแก่คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยที่เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทให้พัฒนามหาวิทยาลัย ขยายขอบข่ายวิชาการให้กว้างขวางเป็นมหาวิทยาลัยที่สมบูรณ์แบบเช่นในปัจจุบันพิธีพระราชทานปริญญาบัตร พิธีพระราชทานปริญญาบัตร. ในระหว่างเสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นครั้งที่ 2 นั้น พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลได้เสด็จมาพระราชทานปริญญาบัตร ณ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดลในปัจจุบัน) เมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2489 ซึ่งเป็นการพระราชทานปริญญาบัตรเป็นครั้งสุดท้ายในรัชสมัยของพระองค์ พิธีพระราชทานปริญญาบัตรได้จัดขึ้นเป็นครั้งแรกในรัชกาลปัจจุบันเมื่อวันจันทร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2493 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินเป็นประธาน ณ ปะรำพิธีหน้าตึกรังสีวิทยา โรงพยาบาลศิริราช เมื่อครั้งยังเป็นมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ โดยมีบัณฑิตจากคณะต่าง ๆ เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรต่อหน้าพระพักตร์ จำนวน 200 คน งานพิธีพระราชทานปริญญาบัตรยังคงจัดขึ้นที่หอประชุมราชแพทยาลัย ภายในโรงพยาบาลศิริราช เป็นประจำเรื่อยมาทุกปีจนถึงปี พ.ศ. 2520 ต่อมาเมื่อผู้สำเร็จการศึกษามีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนมาจัดที่สวนอัมพร ปัจจุบันพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินมาปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหิดลในระดับบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิตเป็นประจำทุกปี โดยพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยมหิดลจะเป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัยในแต่ละปีการศึกษา โดยใช้หอประชุมมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เป็นสถานที่พระราชทานปริญญาบัตร ตั้งแต่บัณฑิตปีการศึกษา 2556 เป็นต้นไปการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวและยั่งยืนมหาวิทยาลัยสีเขียว การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวและยั่งยืน. มหาวิทยาลัยสีเขียว. ตามผังแม่บทมหาวิทยาลัยมหิดล ฉบับปี พ.ศ. 2551 คณะผู้บริหารต้องการสร้างมหาวิทยาลัยมหิดลให้เป็น "มหาวิทยาลัยเมืองในฝัน" ให้มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีลักษณะทางกายภาพที่ตอบสนองสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม ดังแนวคิดที่ว่า "A promised place to live and learn with nature" ด้วยความมุ่งมั่นที่จะพัฒนามหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ให้เป็นเมืองมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green Campus) ที่มีสภาพแวดล้อมน่าอยู่ รื่นรมย์ เอื้อต่อวิถีชีวิตที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ควบคู่กับการสร้างจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของนักศึกษา บุคลากรและชุมชนโดยรอบ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ดำเนินการปรับปรุงในทุกๆ ด้านอย่างเป็นรูปธรรม เช่น ภูมิทัศน์ ระบบสัญจร ระบบสาธารณูปโภค และพัฒนาโครงการต่างๆ เพื่อให้การพัฒนาไม่หยุดเพียงแค่การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ แต่เป็นการเปลี่ยนแปลงวิถีการใช้ชีวิตขอผู้คนซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป มหาวิทยาลัยมหิดลได้มีการปรับนโยบายในการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อยกระดับความสำคัญและเอื้อต่อการทำกิจกรรม เช่น- การพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดิน- จัดกลุ่มพื้นที่กิจกรรมประเภทเดียวกัน อยู่ในพื้นที่เดียวกันหรือต่อเนื่องกัน - เพิ่มความหนาแน่นการใช้ที่ดิน รักษาพื้นที่สีเขียวไม่น้อยกว่า 70% ของพื้นที่ทั้งหมด - จัดกลุ่มพื้นที่กิจกรรมเป็นระบบบล็อกย่อย (Sub-block System) - กำหนดพื้นที่สีเขียวและที่ว่างสำคัญ - การพัฒนาระบบภูมิทัศน์- อนุรักษ์พื้นที่สีเขียวและระบบนิเวศของพื้นที่แต่ละส่วนให้มีสภาพความเป็นธรรมชาติให้มากที่สุด - นำพื้นที่ว่างและพื้นที่สีเขียวมาพัฒนาเพื่อการใช้ประโยชน์ให้สอดคล้องกับกิจกรรมกีฬา นันทนาการ หรือกิจกรรมการศึกษา - สร้างแนวแกนสีเขียวและเส้นทางสีเขียว (Green Way) เชื่อมต่อพื้นที่ทุกส่วนของมหาวิทยาลัยเข้าด้วยกัน - การควบคุมอาคารและสิ่งก่อสร้าง- ควบคุมอาคารและสิ่งก่อสร้าง เพื่อรองรับการขยายตัวของอาคารในอนาคต โดยการควบคุมระบบการวางผังอาคารและสิ่งก่อสร้างโดยคานึงถึงหลักเกณฑ์การเกิดอาคารและการออกแบบอาคาร เช่น รูปผังอาคาร ความสูง และระยะถอยร่นอาคาร - การพัฒนาระบบการสัญจร- ลดความสำคัญของการสัญจรทางรถยนต์ โดยการปรับลดผิวถนนหลัก 3 เลน เป็นทางเท้าและทางจักรยาน - จัดทางสัญจรทางรถให้ครอบคลุมพื้นที่ที่มีการพัฒนาใหม่เท่าที่จำเป็น - ควบคุมเส้นทางสัญจรทางรถไว้ที่พื้นที่รอบนอกกลุ่มอาคาร เพื่อรักษาพื้นที่ภายในส่วนการศึกษาไว้สำหรับการเดินและการขี่จักรยาน - เน้นบริการรถขนส่งสารธารณะและการสัญจรในมหาวิทยาลัยด้วยการเดินและขี่จักรยาน - การพัฒนาระบบสารธารณูปโภคสาธารณูปการ- ปรับปรุงสารธารณูปโภคเพื่อรองรับการขยายตัวพื้นที่ในอนาคต โดยคำนึงถึงการลดพลังงาน การักษาสิ่งแวดล้อม และการลดการใช้ทรัพยากรภายในมหาวิทยาลัย เพื่อเป็นตัวอย่างแก่ชุมชนมหาวิทยาลัยยั่งยืน มหาวิทยาลัยยั่งยืน. การปรับกระบวนทัศน์ความคิดในการบริหารจัดการองค์กรสถาบันอุดมศึกษาเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงใน ศตรวรรษที่ ๒๑ ด้วยเป้าหมายหลักของการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) ที่มุ่งสร้างให้เกิดดุลยภาพขององค์ประกอบพื้นฐานในมิติสำคัญ ๓ มิติ ได้แก่ มิติเชิงเศรษฐกิจ (Economic) มิติเชิงสิ่งแวดล้อม (Ecology) และมิติเชิงสังคม (Social) โดยคาดหวังผลลัพธ์ของการก่อให้เกิดความเท่าเทียม (Equity) ความมีประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร (Efficient) และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (Quality of Life) มหาวิทยาลัยมหิดลในฐานะมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศและภูมิภาค มีปณิธานสำคัญของการเป็น "ปัญญาของแผ่นดิน" ด้วยวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนของการเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก โดยมีพันธกิจของสร้างความเป็นเลิศศทางด้านสุขภาพ ศาสตร์ ศิลป์ และนวัตกรรม บนพื้นฐานของคุณธรรม เพื่อสังคมไทย และประโยชน์สุขแก่มวลมนุษยชาติ มหาวิทยาลัยจัดทำแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืน ปี 2558-2562 โดยมี 3 กลยุทธ์สำคัญ เริ่มด้วยการส่งเสริมให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร (Resources Efficiency) โดยจะให้ความสำคัญกับการลดปริมาณกากของเสีย เน้นการใช้ประโยชน์ที่ดิน และการควบคุมอาคาร รวมถึงจัดทำฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ขณะเดียวกันยังมีกลยุทธ์ด้านการส่งเสริมความเป็นสังคมคาร์บอนต่ำ (Low Carbon Society) และการส่งเสริมให้เกิดพันธกิจสัมพันธ์กับชุมชน (Community Engagement) ทั้งการถ่ายทอดองค์ความรู้และการศึกษา การวิจัยที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมให้เกิดงานวิจัยสีเขียว ด้านความปลอดภัยและความเสี่ยง ตลอดจนการสนับสนุนโยบายความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม สิ่งที่กำลังจะทำคือ Organic Food ให้ชาวบ้านมาปลูกผักในมหาวิทยาลัย และมีนโยบายให้นักศึกษาปลูกผักเอง เนื่องจากมหาวิทยาลัยมหิดลมีคณะเทคนิคการแพทย์และสถาบันโภชนาการที่สามารถเข้ามาช่วยตรวจวัดปริมาณสารเคมี เพื่อคนจะได้กินผักปลอดสารพิษ ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันมหาวิทยาลัยมหิดล มีโครงการด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ได้แก่ ธนาคารขยะรีไซเคิล, ปุ๋ยหมักชีวภาพ, แปลงผักปลอดสารพิษ, จักก้าเซ็นเตอร์และจักรยานสีขาว (จักรยานสาธารณะ), บริการขนส่งสาธารณะ (รถรางNGV), การงดใช้กล่องโฟมในพื้นที่มหาวิทยาลัย, การจัดระบบบำบัดน้ำเสียในทุกอาคาร เป็นต้นอุทยานธรรมชาติอุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ อุทยานธรรมชาติ. อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ. อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ ตั้งอยู่ในพื้นที่มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ในระยะแรกของการดำเนินการ ใช้ชื่อว่า “โครงการปลูกสวนสมุนไพร” โดยดำริของ ศ.นพ.ดร.ณัฐ ภมรประวัติ อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดลในระยะนั้น และ ศ.พเยาว์ เหมือนวงษ์ญาติ หัวหน้าภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ เป็นผู้วางรากฐานและรูปแบบภูมิสถาปัตย์ ศ.นพ.ดร.ณัฐ ภมรประวัติ ได้เขียนบทความในหนังสือ “สมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ” ที่ว่า “ในระยะเวลาที่มีการเตรียมการก่อสร้างที่ศาลายา ได้มีแนวคิดสำคัญประการหนึ่ง คือจะใช้พื้นที่ศาลายาเป็นพื้นที่นันทนาการสำหรับนักศึกษา เจ้าหน้าที่ของมหาวิทยาลัยและบุคคลภายนอกด้วย ทั้งนี้โดยคำนึงถึงชุมชนใหม่ระหว่างสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้ากับศาลายาที่คาดว่าจะเริ่มพัฒนาตั้งแต่ พ.ศ. 2520 เป็นต้นไป” “ท่านศาสตราจารย์พเยาว์ ได้ทุ่มเทชีวิตจิตใจดำเนินการสร้างสวนแห่งนี้อย่างเต็มที่ นับเป็นโชคดีที่สามารถส่งเสริมให้คนที่รู้วิชาการเภสัชพฤกษศาสตร์อย่างลึกซึ้ง ได้ทำงานที่ต้องการจะทำ แม้จะไม่มีเงินทองหรือผู้ช่วยที่มากมาย แต่การทำงานด้วยใจรัก ก็สามารถทำให้งานสำเร็จลุล่วงไปได้” ซึ่งหนังสือ “สมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ” เป็นหนังสือที่ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์จัดพิมพ์ขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเจริญพระชนมายุ 60 พรรษา พ.ศ. 2539 สื่อถึงแนวคิดและวัตถุประสงค์ที่จะให้สวนสมุนไพรแห่งนี้เป็นแหล่งอนุรักษ์พันธุ์พืชสมุนไพรไทยสำหรับการศึกษา วิจัย พัฒนาและการเรียนรู้ โดยเฉพาะสำหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ และเป็น “ปอดสีเขียว” ให้บุคลากรในพื้นที่วิทยาเขตศาลายา โดยเริ่มดำเนินการในปี พ.ศ. 2524 หลังจากปลูกไม้ร่มเงาแล้วจึงนำสมุนไพรไทยทั้งไม้ยืนต้นและไม้พุ่มจัดปลูกลงตามที่สถาปนิกวางรูปแบบไว้ รวบรวมสมุนไพรที่มีศักยภาพและมีรายงานการวิจัยสนับสนุนในพื้นที่ 12 ไร่ พืชสมุนไพรเจริญเติบโตขึ้นเป็นลำดับ จึงได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระราชทานชื่อว่า "สิรีรุกขชาติ" และเป็นสวนที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดำรัส เมื่อเสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดสวนสมุนไพรแห่งนี้ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2531 ว่า ปัจจุบันสวนสมุนไพรสิรีรุกขชาติภายใต้การดูแลและดำเนินการของภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 38 ไร่ รวบรวมพันธุ์สมุนไพรไว้ประมาณ 800 ชนิด จัดปลูกไว้อย่างสวยงาม พร้อมป้ายชื่อพืชสมุนไพรที่ระบุทั้งชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ ส่วนที่ใช้และสรรพคุณ และเป็นห้องเรียนธรรมชาติสำหรับ นักเรียน นักศึกษา นักวิชาการ รวมทั้งผู้สนใจที่ได้เข้าเยี่ยมชมเพิ่มขึ้นทุกปี จนได้รับรางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล สาขาการบริการ เมื่อปี พ.ศ. 2536 และคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สำนักนายกรัฐมนตรีได้พิจารณาให้เป็นโครงการดีเด่นแห่งชาติ สาขาอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ด้านสมุนไพร) ประจำปี พ.ศ. 2539 ภายในอุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ มีทั้งพรรณไม้สมุนไพรที่พบทั่วไปและใช้ได้ในชีวิตประจำวัน และสมุนไพรที่เป็นภูมิปัญญาพื้นบ้านที่หาได้ยาก พื้นที่ในสวนสมุนไพรแบ่งออกเป็น 3 ส่วน- ส่วนแรก เป็นเรือนเพาะชำ ซึ่งปลูกสมุนไพรที่ต้องการการดูแลเป็นพิเศษ ไม่ต้องการแสงแดดจัด และขนาดไม่ใหญ่มาก เช่น ดองดึง หญ้าหวาน รวมทั้งพืชที่มีพิษ เช่น ช้างร้อง สลอด เป็นต้น - ส่วนที่สอง เป็นพื้นที่สวนหย่อมสมุนไพร พื้นที่ประมาณ 12 ไร่ จัดปลูกสมุนไพรเป็นไม้ต้นขนาดเล็ก ไม้เลื้อย และไม้ล้มลุกที่ตกแต่งไว้อย่างสวยงามเหมาะกับการพักผ่อน และเรียนรู้พืชสมุนไพร ได้แก่ มะเกลือ ส้มเสี้ยว กันเกรา สารภี สีเสียด เป็นต้น - ส่วนสุดท้าย ปลูกในลักษณะสวนป่าในพื้นที่ประมาณ 26 ไร่ เพื่อแสดงระบบนิเวศที่สมุนไพรเติบโตอย่างเป็นธรรมชาติ ส่วนใหญ่เป็นไม้ต้น และไม้เล็กที่ขึ้นแซมไม้ใหญ่ ให้ความร่มรื่นเหมาะกับผู้ที่สนใจศึกษาสมุนไพรอย่างเป็นธรรมชาติ พืชในส่วนนี้ เช่น สมอไทย สมอพิเภก สมอดีงู การบูร อบเชย โมกมัน เป็นต้น นอกจากนี้อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ มีสมุนไพรที่หาชมได้ยากหลายชนิด เช่น โมกราชินี สิรินธรวัลลี สามสิบกีบน้อย และจิกดง ซึ่งเป็นพืชชนิดใหม่ของโลก มะลิซาไกสมุนไพรหายากที่ใช้เป็นยาคุมกำเนิดของชนเผ่าซาไก กำแพงเจ็ดชั้น กวาวเครือขาว และกวาวเครือแดงสมุนไพรบำรุงกำลังของไทย รวมทั้งสมุนไพรที่เป็นพืชผักพื้นบ้านอีกหลากหลายชนิด มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเรียนรู้และประยุกต์ใช้สมุนไพรเพื่อดูแล ป้องกันและรักษาสุขภาพ พร้อมไปกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ศ.นพ.ปิยะสกล สกลสัตยาทร อธิการบดีขณะนั้น จึงดำริที่จะยกระดับพื้นที่สวนสมุนไพรสิรีรุกขชาติ และพื้นที่อนุรักษ์ข้างเคียงบริเวณด้านทิศใต้จำนวน 171 ไร่ ให้เป็นพื้นที่อนุรักษ์ธรรมชาติระดับชาติและระดับนานาชาติ ในลักษณะ Botanical Garden เพื่อเป็นอุทยานการเรียนรู้ทางธรรมชาติวิทยา ต่อยอดภูมิปัญญาไทย ให้สามารถเป็นต้นแบบด้านสิ่งแวดล้อมศึกษาและการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช เป็นแหล่งรวบรวมพืช ผลิตและทดลองพืชสมุนไพรที่มีสรรพคุณทางยา แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติที่หลากหลาย เป็นสวนสาธารณะและแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทางด้านพฤกษศาสตร์และสมุนไพรของจังหวัดนครปฐม และภูมิภาคตะวันตกของประเทศ โดยเริ่มได้รับการจัดสรรงบประมาณแผ่นดินในปี ๒๕๕๔ และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระราชทานพระราชานุญาตให้เปลี่ยนชื่อสวนสมุนไพร “สิรีรุกขชาติ” เป็น "อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ" ตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2553 ประกอบด้วย 7 อาคาร 7 ลาน ดังนี้- อาคารใบไม้สามใบ อาคารต้อนรับผู้เข้าเยี่ยมชมเข้าสู่ อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ พร้อมจัดแสดงนิทรรศการถาวร “สมุนไพร ภูมิปัญญาไทยสู่สากล” - ลานนานาสมุนไพร ลานจัดแสดงสมุนไพรไม้พุ่ม และไม้ล้มลุก ในกระถางขนาดใหญ่รูปดอกไม้บนลานหินกว้าง - บ้านหมอยา อาคารให้บริการ ส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย และให้คำปรึกษาการใช้ยาสมุนไพร พร้อมการนวดรักษาแบบราชสำนัก - สวนสมุนไพร พื้นที่ส่วนใหญ่ของอุทยานฯ จัดปลูกในรูปแบบสวนสาธารณะ มีไม้ยืนต้นเป็นหลัก พร้อมทั้งไม้เลื้อยขนาดใหญ่ และแซมด้วยพรรณไม้ชนิดอื่นๆ ทำให้มีความร่มรื่นสามารถใช้ศึกษาพืชสมุนไพรและพักผ่อนไปพร้อมๆ กัน - หอดูนก 1 พื้นที่ชุ่มน้ำของอุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ เป็นแหล่งพักพิงของนกนานาชนิด หอดูนกทั้ง 2 หอจึงเป็นอาคารที่ใช้เพื่อ เฝ้าดูนกและสังเกตพฤติกรรมต่างๆ ของนก กิจกรรมการศึกษาจำแนกชนิดนกสำหรับผู้ที่รักธรรมชาติและสิ่งมีชีวิตรอบตัว - หอดูนก 2 - ลานไม้เลื้อย ลานรวบรวมไม้เลื้อยสมุนไพรขนาดกลางและเล็กปลูกไว้ด้วยกันเพื่อความสะดวกในการศึกษาเปรียบเทียบ - ลานสมุนไพรวงศ์ขิง ลานปลูกกลุ่มพืชหัววงศ์ขิงที่มีคุณค่าเป็นยา และเป็นพืชในเขตร้อนที่มีความสำคัญทั้งในการใช้ระดับชุมชน และการวิจัยพัฒนายาใหม่ - อาคารใบไม้ใบเดียว อาคารสาธิต การขยายพันธุ์และห้องปฏิบัติการสำหรับการฝึกอบรมต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองแก่ผู้พิการ เพื่อการปรับใช้ด้วยตนเอง - ลานสมุนไพรเพื่อคนพิการ ลานสมุนไพรที่อำนวย ความสะดวกในการศึกษาสมุนไพรเป็นพิเศษสำหรับผู้พิการและผู้สูงอายุแห่งแรกในประเทศไทย โดยใช้สื่อการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ ขึ้นเป็นพิเศษ ผู้พิการทางสายตาจะสามารถสัมผัส ดม และชิมให้เกิดความรู้เชิงประจักษ์ - ศาลาหมอชีวกโกมารภัจน์ ประดิษฐานรูปหล่อหมอชีวกโกมารภัจน์แพทย์ประจำพระองค์ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านเป็นบรมครูแห่งการแพทย์ แผนโบราณ ซึ่งหมอแผนไทยผู้ที่กำลังศึกษาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร รวมทั้งประชาชนทั่วไป ให้ความเคารพ ศรัทธา และกราบไหว้บูชาเพื่อความเป็นสิริมงคล - ลานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ รวบรวมสมุนไพรจำนวน 69 ชนิด ที่ผ่านการวิจัย ว่ามีประโยชน์ต่อสุขภาพและมีความปลอดภัย สามารถนำไปใช้ป้องกันและรักษาอาการป่วยพื้นฐานในชีวิตประจำวันได้ มีลานสาธิต และทำกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ พร้อมลานพักผ่อนสันทนาการและเผยแพร่ความรู้ - อาคารสัมมนาห้องอบรมเชิงปฏิบัติการเฉพาะทางเรื่องการใช้ประโยชน์ สมุนไพรไทย สำหรับประชาชนทั่วไป พร้อมส่วนบริการห้องอาหาร 180 ที่นั่ง ซึ่งจะเน้นอาหารเพื่อสุขภาพ - อาคารวิจัยและพิพิธภัณฑ์พืช ประกอบด้วยกิจกรรมหลัก 2ด้าน ได้แก่ ชั้นที่ 1 ห้องปฏิบัติการวิจัยการขยายพันธุ์สมุนไพรพืช ด้วยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ชั้นที่ 2 พิพิธภัณฑ์สมุนไพร (Herbarium) ที่รวบรวมตัวอย่างพรรณไม้สมุนไพรแห้ง เพื่อเป็นมาตรฐานเปรียบเทียบให้บริการตรวจสอบชนิดและสร้างเครือข่ายติดต่อกับ พิพิธภัณฑ์พืชในต่างประเทศ รวมทั้งยังเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ อนุรักษ์พันธุ์พืชในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อีกด้วย ในระดับนานาชาติ อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ ได้รับการยกย่องเป็น Medicinal Plant Garden แห่งเดียวของประเทศไทย ที่เข้าตามหลักเกณฑ์ที่ที่ประชุมร่วมอาเซียนและกำหนดขึ้น กิจกรรมการเรียนรู้และจะเป็นแหล่งศึกษาดูงานที่สำคัญของภูมิภาคบริการวิชาการต่างๆ ที่สำคัญยังถือเป็นสำหรับประชาชน แหล่งเรียนรู้เพื่อปลุกกระแสให้คนไทยหันมาร่วมกันสร้างป่าสมุนไพรในเมืองนักเรียน นักศึกษา เพื่อสุขภาพที่ดีนักวิชาการและความมั่นคงด้านยารักษาโรคนักวิจัย ทั้งวันนี้และอนาคตตลอดไป”บุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยมหิดล บุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยมหิดล. ดูบทความหลักที่ รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยมหิดล คณาจารย์และบุคลากรของมหาวิทยาลัยมหิดลนั้นได้รับแต่งตั้งเป็นนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยมากที่สุด โดยมีรายพระนาม และรายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัย เช่น- สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ผู้ทรงบุกเบิกการแพทย์แผนใหม่ในประเทศไทย ผู้ทรงเป็นที่มาแห่งนาม 'มหาวิทยาลัยมหิดล' - ศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี องค์ประธานของสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ - ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นพ.ประเวศ วะสี นักเรียนทุนมูลนิธิอานันทมหิดล ผู้ได้รับรางวัลแมกไซไซ ปี พ.ศ. 2524 และ นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ปี พ.ศ. 2526 - ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นพ.ณัฐ ภมรประวัติ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นแห่งชาติการเป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล การเป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล. มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐสมบูรณ์อย่างเป็นทางการ เมื่อพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2550 ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนที่ 68 ก เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2550 โดยนายกรัฐมนตรี พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ จากนี้สถานภาพของพนักงานมหาวิทยาลัยจะได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการ และข้าราชการมีสิทธิที่จะขอเปลี่ยนสภาพเป็นพนักงานได้ ภายในระยะเวลา 90 วัน และจะไม่มีข้าราชการเพิ่มขึ้นอีกตามมาตรา 78 ของพระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยมหิดลก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. ใด
{ "answer": [ "2432" ], "answer_begin_position": [ 259 ], "answer_end_position": [ 263 ] }
3,641
84,036
แซมเสวตร แมวแซมเสวตร [แซมสะเหฺวด] แปลว่า "แซมสีขาว" เป็นแมวชนิดหนึ่งที่ปรากฏใน ตำราแมว ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา แมวนี้มีขนสีดำ แซมด้วยสีขาวไปทั้งตัว แต่ขนบางและค่อนข้างสั้น รูปร่างบางเพรียว ตามีสีเขียวเหมือนแสงหิ่งห้อย ซึ่งแท้จริงแล้วแซมเสวตรนี้มิใช่สายพันธุ์ หากแต่เป็นแมวโกนจาที่ป่วยด้วยภาวะ "Fever Coat" อันส่งผลต่อการสร้างเม็ดสีที่ขน เมื่อหายดีขนก็จะกลับมาดำเป็นแมวโกนจาตามเดิม โดยลักษณะทั่วไปของแซมเสวตรจะตรงกันกับแมวโกนจาแต่มีขนสีขาวแซม ในปี พ.ศ. 2548 ได้ค้นพบแมวแซมเสวตรตัวแรกชื่อ "แซม" และตัวที่สองชื่อ "โค้ก" ของอารีย์ อยู่บำรุง และตัวที่สามชื่อ "ข้าวตอก" ของวีระศักดิ์ สร้อยทอง และมีการพบแมวลักษณะนี้อีกหลายครั้ง ต่อมาได้มีคำอธิบายว่าแซมเสวตรคือแมวโกนจาที่เกิดความผิดปกติด้วยภาวะ "Fever Coat" หรือ "แมวป่วย" ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อแม่แมวตั้งท้องแล้วมีไข้ อันส่งผลต่อการสร้างเม็ดสีที่ขนของลูกแมวในครรภ์ทำให้มีสีขาวแซม ขนของมันจะกลับเข้าสู่ภาวะปกติภายใน 4-6 เดือน ซึ่งการมีขนสีขาวแซมยังพบได้ในแมวโตขนสีดำที่ถูกกัด ป่วย หรือร่างกายอ่อนแอบทกวีที่เกี่ยวกับแมวแซมเสวตร
ตาของแมวแซมเสวตรมีสีอะไร
{ "answer": [ "เขียว" ], "answer_begin_position": [ 277 ], "answer_end_position": [ 282 ] }
3,643
776,259
กัลยา เลิศเกษมทรัพย์ กัลยา เลิศเกษมทรัพย์ หรือ เง็ก นักแสดง และนางแบบหญิงชาวไทย เข้าสู่วงการด้วยวัยเพียง 16 ปี จากการเดินเที่ยวห้างที่สยามเซ็นเตอร์ หลังเลิกเรียน จากนั้นมีแมวมองมาติดต่อและขอเบอร์โทรศัพท์เธอไป จากนั้นไม่นานก็ได้ติดต่อให้เธอไปเทสต์โฆษณาหลายครั้ง และได้ถ่ายโฆษณาสกินซิตร้าโลชั่น เป็นงานแรกในวงการบันเทิง หลังจากนั้นก็ได้มีโอกาสแสดงภาพยนตร์เรื่องแรกของ ไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ เรื่อง ปีหนึ่งเพื่อนกันและวันอัศจรรย์ของผมเมื่อปี พ.ศ. 2536 แสดงคู่กับศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง โดยรับบทเป็นหมอทิพย์ ต่อด้วยภาพยนตร์สร้างชื่อเสียงให้กับเธอคือ คู่แท้ 2 โลก เมื่อปี พ.ศ. 2537 แสดงคู่กับสหรัถ สังคปรีชา รับบทเป็น ลาน นอกจากนี้ยังมีผลงานถ่ายแบบ และแสดงละครโทรทัศน์จนถึงปัจจุบัน อาทิ ซึมน้อยหน่อยกะล่อนมากหน่อย, 7 พระกาฬ, เจ้าสาวผมไม่ใช่ผี, พลับพลึงสีชมพู และ เวียงร้อยดาว เป็นต้นผลงานผลงานละครโทรทัศน์ผลงานภาพยนตร์
กัลยา เลิศเกษมทรัพย์ เข้าวงการบันเทิงตอนอายุเท่าไร
{ "answer": [ "16" ], "answer_begin_position": [ 200 ], "answer_end_position": [ 202 ] }
3,644
76,471
ทะเลสาบบิวะ ทะเลสาบบิวะ () มีชื่อเดิมว่า ทะเลโอ () เป็นทะเลสาบน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในจังหวัดชิงะ ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองหลวงเก่าเกียวโต เนื่องจากอยู่ใกล้กับเมืองหลวงเก่า ทะเลสาบแห่งนี้จึงปรากฏอยู่ในวรรณกรรมของญี่ปุ่นอยู่บ่อยครั้ง โดยเฉพาะในกวีนิพนธ์และบันทึกทางประวัติศาสตร์ยามสงครามพื้นที่โดยรอบและการใช้ประโยชน์ พื้นที่โดยรอบและการใช้ประโยชน์. ทะเลสาบแห่งนี้มีขนาดพื้นที่ 670 ตารางกิโลเมตร เท่ากับเกาะอะวะจิ มีแม่น้ำหลายสายไหลจากภูเขารอบๆลงสู่ทะเลสาบ เป็นแหล่งน้ำที่สำคัญสำหรับเมืองเกียวโตและโอสึ มีการใช้ประโยชน์จากทะเลสาบแห่งนี้มากมายหลายทาง เช่น เป็นแหล่งทรัพยากรที่สำคัญสำหรับโรงงานทอผ้าในบริเวณใกล้เคียง แหล่งผลิตน้ำดื่มหล่อเลี้ยงคนกว่า 15 ล้านคนทั่วภูมิภาค แหล่งเพาะและผสมพันธุ์ปลาน้ำจืดหลายชนิดอย่างเช่นปลาเทราท์ และแหล่งเลี้ยงหอยในอุตสาหกรรมผลิตไข่มุก แต่ละปีระดับน้ำในทะเลสาบจะสูงขึ้นถึง 3 เมตรใน 2 ช่วงเวลา คือ ในฤดูใบไม้ผลิ เนื่องมาจากฝนและหิมะที่ละลาย และในฤดูใบไม้ร่วง หลังจากพายุไต้ฝุ่น แม่น้ำที่เป็นสาขาหลักของทะเลสาบคือ แม่น้ำเซะตะ ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น แม่น้ำโยะโดะ ไหลจากทะเลสาบออกสู่ทะเลที่อ่าวโอซะกะ คลองบิวะโกะ เป็นสาขาหนึ่งของทะเลสาบ ขุดขึ้นเมื่อปลายทศวรรษ 1890 และมีการขยายขึ้นอีกระหว่างสมัยไทโช มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมในเกียวโตให้กลับพลิกฟื้นขึ้นมาอีกครั้ง หลังจากที่ซบเซาลงไปเนื่องจากการย้ายเมืองหลวงไปโตเกียวธรรมชาติของทะเลสาบ ธรรมชาติของทะเลสาบ. ทะเลสาบบิวะเป็นทะเลสาบที่มีอายุเก่าแก่เป็นอันดับสามของโลก โดยถือกำเนิดขึ้นเมื่อประมาณ 4 ล้านปีก่อน เนื่องด้วยมีประวัติยาวนาน และแทบไม่เปลี่ยนแปลงไปจากเมื่อครั้งถือกำเนิด ทำให้เป็นสถานที่ที่ระบบนิเวศอันหลากหลายมีวิวัฒนาการเรื่อยมา นักธรรมชาติวิทยาได้ค้นพบและบันทึกรายการสิ่งมีชีวิตในทะเลสาบแล้วประมาณ 1,100 ชนิด ในจำนวนนี้มีอยู่ 58 ชนิดที่ไม่พบในที่แห่งอื่นในโลก บริเวณทะเลสาบเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยที่สำคัญของนกน้ำ ทุกปีจะมีนกน้ำกว่า 5,000 ตัวอพยพมาที่ทะเลสาบ แต่เมื่อไม่นานมานี้ ความหลากหลายทางชีวภาพของทะเลสาบบิวะก็ถูกคุกคามโดยปลาต่างถิ่น อย่างเช่น black bass และ bluegill โดยพันธุ์ปลา bluegill ถูกนำมาถวายแด่องค์จักรพรรดิ แล้วถูกปล่อยลงสู่ทะเลสาบเพื่อให้เป็นอาหารของปลาอื่น ส่วน black bass ถูกนำเข้ามาเพื่อเป็นปลาสำหรับกีฬาตกปลา
ทะเลสาบน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่นคือทะเลสาบใด
{ "answer": [ "ทะเลสาบบิวะ" ], "answer_begin_position": [ 96 ], "answer_end_position": [ 107 ] }
3,645
76,471
ทะเลสาบบิวะ ทะเลสาบบิวะ () มีชื่อเดิมว่า ทะเลโอ () เป็นทะเลสาบน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในจังหวัดชิงะ ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองหลวงเก่าเกียวโต เนื่องจากอยู่ใกล้กับเมืองหลวงเก่า ทะเลสาบแห่งนี้จึงปรากฏอยู่ในวรรณกรรมของญี่ปุ่นอยู่บ่อยครั้ง โดยเฉพาะในกวีนิพนธ์และบันทึกทางประวัติศาสตร์ยามสงครามพื้นที่โดยรอบและการใช้ประโยชน์ พื้นที่โดยรอบและการใช้ประโยชน์. ทะเลสาบแห่งนี้มีขนาดพื้นที่ 670 ตารางกิโลเมตร เท่ากับเกาะอะวะจิ มีแม่น้ำหลายสายไหลจากภูเขารอบๆลงสู่ทะเลสาบ เป็นแหล่งน้ำที่สำคัญสำหรับเมืองเกียวโตและโอสึ มีการใช้ประโยชน์จากทะเลสาบแห่งนี้มากมายหลายทาง เช่น เป็นแหล่งทรัพยากรที่สำคัญสำหรับโรงงานทอผ้าในบริเวณใกล้เคียง แหล่งผลิตน้ำดื่มหล่อเลี้ยงคนกว่า 15 ล้านคนทั่วภูมิภาค แหล่งเพาะและผสมพันธุ์ปลาน้ำจืดหลายชนิดอย่างเช่นปลาเทราท์ และแหล่งเลี้ยงหอยในอุตสาหกรรมผลิตไข่มุก แต่ละปีระดับน้ำในทะเลสาบจะสูงขึ้นถึง 3 เมตรใน 2 ช่วงเวลา คือ ในฤดูใบไม้ผลิ เนื่องมาจากฝนและหิมะที่ละลาย และในฤดูใบไม้ร่วง หลังจากพายุไต้ฝุ่น แม่น้ำที่เป็นสาขาหลักของทะเลสาบคือ แม่น้ำเซะตะ ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น แม่น้ำโยะโดะ ไหลจากทะเลสาบออกสู่ทะเลที่อ่าวโอซะกะ คลองบิวะโกะ เป็นสาขาหนึ่งของทะเลสาบ ขุดขึ้นเมื่อปลายทศวรรษ 1890 และมีการขยายขึ้นอีกระหว่างสมัยไทโช มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมในเกียวโตให้กลับพลิกฟื้นขึ้นมาอีกครั้ง หลังจากที่ซบเซาลงไปเนื่องจากการย้ายเมืองหลวงไปโตเกียวธรรมชาติของทะเลสาบ ธรรมชาติของทะเลสาบ. ทะเลสาบบิวะเป็นทะเลสาบที่มีอายุเก่าแก่เป็นอันดับสามของโลก โดยถือกำเนิดขึ้นเมื่อประมาณ 4 ล้านปีก่อน เนื่องด้วยมีประวัติยาวนาน และแทบไม่เปลี่ยนแปลงไปจากเมื่อครั้งถือกำเนิด ทำให้เป็นสถานที่ที่ระบบนิเวศอันหลากหลายมีวิวัฒนาการเรื่อยมา นักธรรมชาติวิทยาได้ค้นพบและบันทึกรายการสิ่งมีชีวิตในทะเลสาบแล้วประมาณ 1,100 ชนิด ในจำนวนนี้มีอยู่ 58 ชนิดที่ไม่พบในที่แห่งอื่นในโลก บริเวณทะเลสาบเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยที่สำคัญของนกน้ำ ทุกปีจะมีนกน้ำกว่า 5,000 ตัวอพยพมาที่ทะเลสาบ แต่เมื่อไม่นานมานี้ ความหลากหลายทางชีวภาพของทะเลสาบบิวะก็ถูกคุกคามโดยปลาต่างถิ่น อย่างเช่น black bass และ bluegill โดยพันธุ์ปลา bluegill ถูกนำมาถวายแด่องค์จักรพรรดิ แล้วถูกปล่อยลงสู่ทะเลสาบเพื่อให้เป็นอาหารของปลาอื่น ส่วน black bass ถูกนำเข้ามาเพื่อเป็นปลาสำหรับกีฬาตกปลา
ทะเลสาบบิวะมีพื้นที่กี่ตารางกิโลเมตร
{ "answer": [ "670" ], "answer_begin_position": [ 480 ], "answer_end_position": [ 483 ] }
3,646
618,930
ระบำดวงดาว ระบำดวงดาว เป็นละครโทรทัศน์ไทย สร้างครั้งแรกปี พ.ศ. 2553 นำแสดงโดย ธนา สุทธิกมล,เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์,ศรัณย์รัชต์ วิสุทธิธาดา,สิรีภรณ์ ยุกตะทัต,ธนากร โปษยานนท์ จากบทประพันธ์ของ อัจฉรียา เขียนบทโทรทัศน์โดย กลีบผกา, นันทพร แก้วอัมพร กำกับการแสดงโดย กฤษฎา เตชะนิโลบล ผลิตโดย บริษัท โพลีพลัส เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ทุกคืนวันพุธ-พฤหัสบดี เวลา 20.30 - 22.30 น. เริ่มตอนแรกเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2553–20 ตุลาคม พ.ศ. 2553รายชื่อนักแสดงเพลงประกอบละครเพลงประกอบละคร. - เพลง ขอไปให้ถึงดาว - ธนพร แวกประยูร - เพลง มีกันตลอดไป - ศรัณย์รัชต์ วิสุทธิธาดา - เพลง ของขวัญ - Musketeers
ละครโทรทัศน์ไทยเรื่องระบำดวงดาว ออกฉายครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ใด
{ "answer": [ "2553" ], "answer_begin_position": [ 148 ], "answer_end_position": [ 152 ] }
3,647
618,930
ระบำดวงดาว ระบำดวงดาว เป็นละครโทรทัศน์ไทย สร้างครั้งแรกปี พ.ศ. 2553 นำแสดงโดย ธนา สุทธิกมล,เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์,ศรัณย์รัชต์ วิสุทธิธาดา,สิรีภรณ์ ยุกตะทัต,ธนากร โปษยานนท์ จากบทประพันธ์ของ อัจฉรียา เขียนบทโทรทัศน์โดย กลีบผกา, นันทพร แก้วอัมพร กำกับการแสดงโดย กฤษฎา เตชะนิโลบล ผลิตโดย บริษัท โพลีพลัส เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ทุกคืนวันพุธ-พฤหัสบดี เวลา 20.30 - 22.30 น. เริ่มตอนแรกเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2553–20 ตุลาคม พ.ศ. 2553รายชื่อนักแสดงเพลงประกอบละครเพลงประกอบละคร. - เพลง ขอไปให้ถึงดาว - ธนพร แวกประยูร - เพลง มีกันตลอดไป - ศรัณย์รัชต์ วิสุทธิธาดา - เพลง ของขวัญ - Musketeers
เพลงขอไปให้ถึงดาว ของธนพร แวกประยูร เป็นเพลงประกอบละครไทยเรื่องใด
{ "answer": [ "ระบำดวงดาว" ], "answer_begin_position": [ 96 ], "answer_end_position": [ 106 ] }
3,648
594,527
นกเงือกสีน้ำตาล นกเงือกสีน้ำตาล (; ; ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ แซมมวล ทิคเคล นักปักษีวิทยาชาวอังกฤษ) เป็นนกเงือกชนิดหนึ่ง ที่พบได้ในประเทศอินเดีย, พม่า และภาคตะวันตกของไทย โดยในบางครั้งจะถูกจัดเป็นชนิดย่อยของนกเงือกสีน้ำตาลคอขาว (A. austeni) มีโหนกเล็ก จะงอยปากสีเหลือง มีหนังรอบตาสีฟ้า ลำตัวด้านบนสีน้ำตาล ด้นล่างแกมส้ม ปลายปีกขาว ปลายขนหาง ยกเว้นคู่บนสุดสีขาว ตัวผู้มีคอสีน้ำตาลแกมส้ม ตัวเมียมีปากเทาดำ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 60–65 เซนติเมตร จัดเป็นนกเงือกขนาดกลาง มีเสียงร้อง แอ๊-แอ๊ว หรือ แว้ว-แว้ว แหลมดังไม่เป็นจังหวะ ในประเทศไทยมีถิ่นอาศัยในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง เป็นป่าจำพวกป่าดิบ, ป่าโปร่ง และป่าเชิงเขาถึงความสูง 1,500 เมตร พบได้ในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี และผืนป่าด้านตะวันตกเขตจังหวัดตาก (เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรด้านตะวันออก)
ภาคใดในประเทศไทยที่จะพบนกเงือกสีน้ำตาล
{ "answer": [ "ภาคตะวันตก" ], "answer_begin_position": [ 247 ], "answer_end_position": [ 257 ] }
3,649
115,031
มนัส บุญจำนงค์ มนัส บุญจำนงค์ นักมวยสากลสมัครเล่นเจ้าของเหรียญทองโอลิมปิก จากการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่ประเทศกรีซ นับเป็นชาวไทยคนที่ 5 ที่ได้รับเหรียญทองโอลิมปิก และเป็นนักมวยสากลสมัครเล่นคนที่ 3 ต่อจากสมรักษ์ คำสิงห์ และวิจารณ์ พลฤทธิ์ มนัสมีสถิติได้เหรียญจากกีฬาโอลิมปิก 1 เหรียญทอง 1 เหรียญเงิน, เอเชียนเกมส์ 1 เหรียญทอง, ซีเกมส์ 2 เหรียญทอง และ 1 เหรียญทองแดงจากการแข่งขัน มวยสากลสมัครเล่นชิงแชมป์โลกที่จัดขึ้นที่กรุงเทพฯ ในปี พ.ศ. 2546ประวัติ ประวัติ. มนัส บุญจำนงค์ มีชื่อเล่นว่า "เติ้ล" เกิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2523 ที่ตำบลพงสวาย อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี เป็นบุตรของนายมโนและนางมาลี บุญจำนงค์ มีน้องชายอีก 2 คนคือ มานนท์ (นน บุญจำนงค์) และ พันธนินทร์ ทั้ง 3 พี่น้องหัดชกมวยมาตั้งแต่สมัยเด็กโอลิมปิก 2004 โอลิมปิก 2004. มนัสลงแข่งขันในรุ่นไลท์เวลเตอร์เวท (64 กิโลกรัม) ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่เมืองเอเธนส์ ประเทศกรีซ เส้นทางสู่เหรียญทองของมนัสคือ- รอบแรก : ชนะสไปริดอน ยอนนิดิส ( กรีซ) 28-16 หมัด - รอบ 16 คนสุดท้าย: ชนะโรมิโอ บริน ( ฟิลิปปินส์) 29-15 หมัด - รอบ 8 คนสุดท้าย: 22 สิงหาคม พ.ศ. 2547 ชนะวิลลี เบรน ( ฝรั่งเศส) 20-8 หมัด - รอบรองชนะเลิศ: 27 สิงหาคม พ.ศ. 2547 ชนะไอโอนัท จอร์จี ( โรมาเนีย) - รอบชิงชนะเลิศ: 28 สิงหาคม พ.ศ. 2547 ชนะยูได เซเดอโน่ จอห์นสัน ( คิวบา) 17-11 หมัด มนัสเป็นนักกีฬาไทยคนที่สามที่ได้เหรียญทองจากการแข่งขันโอลิมปิกครั้งนี้ โดยก่อนหน้า อุดมพร พลศักดิ์ และ ปวีณา ทองสุก นักยกน้ำหนักหญิงทีมชาติไทยได้คว้าเหรียญทองไปแล้วเอเชียนเกมส์ 2006 เอเชียนเกมส์ 2006. หลังจากมนัสได้เหรียญทองโอลิมปิกเกมส์ ก็ประสบปัญหาครอบครัวและติดการพนัน ทำให้เขาเริ่มมีปัญหาเรื่องระเบียบวินัย ไม่เข้าซ้อมชกมวยบ่อยครั้ง ก่อนจะกลับตัวได้และลงแข่งขันเอเชียนเกมส์ 2006 ที่กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2549 โดยเอาชนะชิน เมียง ฮุน จากเกาหลีใต้ 22-11 หมัด ในรอบชิงชนะเลิศ ซึ่งก่อนหน้านี้ทางสมาคมมวยสากลสมัครเล่นได้ส่งมนัสเดินทางไปเก็บตัวที่ประเทศคิวบาเพียงคนเดียวนานถึง 3 เดือน กับโค้ช ฮวน ฟอนตาเนียล ซึ่งก็ทำให้มนัสได้เป็นนักมวยสากลสมัครเล่นไทยเพียงคนเดียวที่ได้เหรียญทองในการแข่งขันครั้งนี้โอลิมปิก 2008 โอลิมปิก 2008. มนัสกลับมาแข่งขันโอลิมปิกเป็นครั้งที่สอง ในรุ่นเดิม โดยเส้นทางการชกเป็นดังนี้- รอบ 16 คนสุดท้าย (14 สิงหาคม พ.ศ. 2551) : ชนะ มาซาซึกุ คาวาชิ () 8-1 - รอบ 8 คนสุดท้าย (17 สิงหาคม พ.ศ. 2551) : ชนะ เซริค ซาพิเยฟ () 7-5 - รอบรองชนะเลิศ (22 สิงหาคม พ.ศ. 2551) : ชนะ โรเนียล อิกเลเซียส โซโตลองโก () 10-5 - รอบชิงชนะเลิศ (23 สิงหาคม พ.ศ. 2551) : แพ้ เฟลิกซ์ ดิแอซ () 4-12 โดยถือมนัสเป็นนักกีฬาไทยคนแรก ที่สามารถคว้าเหรียญจากการแข่งขันโอลิมปิกสองสมัยติดต่อกันซีเกมส์ 2011 ซีเกมส์ 2011. ในการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ 2011 ที่เมืองปาเล็มบัง ประเทศอินโดนีเซีย มนัสได้เลื่อนขึ้นไปชกในรุ่นมิดเดิลเวท หรือ 75 กิโลกรัม แต่มนัสเป็นฝ่ายแพ้นักมวยมาเลเซีย มูฮาหมัด ฟาร์ข่าน ไป 9-10 หมัด ในรอบรองชนะเลิศโอลิมปิก 2012 โอลิมปิก 2012. ในช่วงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2555 มนัสมีความพยายามฟิตซ้อมเพื่อที่จะกลับมาติมทีมชาติเพื่อไปแข่งขันกีฬาโอลิมปิกอีกครั้ง ในกลางปีเดียวกัน โดยสามารถเอาชนะ ปิติพงษ์ สำเภาล่อน นักมวยรุ่นน้องไปได้ ด้วยการสนับสนุนจากสมรักษ์ คำสิงห์ แต่แล้วก็ได้มีปัญหาเรื่องการฟิตซ้อมกับทางสมาคมมวยสากลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย และในท้ายที่สุดก็ได้ตัดสินใจแขวนนวมไปในที่สุดผลงานผลงาน. - เหรียญทองแดงเวิลด์คัพ - เหรียญทองคิงส์คัพ 2003 ประเทศไทย - เหรียญทองซีเกมส์ ประเทศเวียดนาม - เหรียญเงินไชนาโอเพน ประเทศจีน - เหรียญทองคิงส์คัพ 2004 ประเทศไทย - เหรียญทองโอลิมปิก 2004 ประเทศกรีซ - เหรียญทองเอเชียนเกมส์ 2006 ประเทศกาตาร์ - เหรียญทองซีเกมส์ 2007 ประเทศไทย - เหรียญเงินโอลิมปิก 2008 ประเทศจีนมวยสากลอาชีพ มวยสากลอาชีพ. มนัส ได้ชกมวยสากลอาชีพครั้งแรกเมื่ออายุได้ 35 ปี ในวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ในสังกัดเกียรติกรีรินทร์โปรโมชัน ของ เอกรัตน์ ไชยโชติช่วง โดยชกครั้งแรกที่อินดอร์สเตเดียมหัวหมาก ด้วยการเอาชนะคะแนน ฮาเหม็ด จาลารันเต นักมวยชาวอินโดนีเซีย ในกำหนดการชก 4 ยก ร่วมรายการเดียวกับที่อำนาจ รื่นเริง ป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกกับ จอห์นเรียล คาซิเมโร ซึ่งมนัสได้ขึ้นชกด้วยสภาพร่างกายที่อ้วนท้วน น้ำหนักกว่า 80 กิโลกรัม ในรุ่นมิดเดิลเวท โดยก่อนหน้านั้นมนัสได้ขึ้นชกมวยเป็นครั้งสุดท้ายในแบบมวยไทยเมื่อกว่า 5 ปีก่อน และในครั้งนี้ได้ลดน้ำหนักกว่า 15 กิโลกรัมเพียงระยะเวลาแค่เดือนเดียว โดยหลังจากนั้น ในวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2558 มนัสขึ้นชกเป็นไฟต์ที่สอง โดยเริ่มใช้ชื่อว่า "มนัส บุญจำนงค์ ศักดิ์กรีรินทร์" โดยพบกับ มาร์โก ทูฮูมูรี นักมวยชาวอินโดนิเซีย ร่วมรายการ ไมค์ พ.ธวัชชัย ชิงแชมป์แพนแปซิฟิค IBF รุ่นซูเปอรฺ์แบนตั้มเวทที่ว่าง ผลปรากฏว่ามนัสชนะคะแนน 4 ยกไปได้ ที่ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี หลังจากชกชนะทูฮูมูรี มนัสตั้งเป้าว่าจะทำน้ำหนักให้ลดลงเหลือ 70 กิโลกรัม และทางเกียรติกรีรินทร์โปรโมชั่นก็วางแผนให้มนัสชกเดือนละครั้ง โดยจะให้ชกกำหนด 6 ยก, 8 ยก, 10 ยก และ 12 ยก ตามลำดับ ในการชกมวยสากลอาชีพครั้งที่ 6 กับ ไรอัน ฟอร์ด นักมวยชาวแคนาดา ซึ่งเป็นอดีตแชมป์การต่อสู้แบบผสมผสาน (MMA) ที่อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมรายการเดียวกับฟ้าลั่นจูเนียร์ ศักดิ์กรีรินทร์ ชิงแชมป์สหพันธ์มวยนานาชาติ แพนแปซิฟิกที่ว่าง กับ เลสเตอร์ อาบูตัน นักมวยชาวฟิลิปปินส์ มนัสเป็นฝ่ายแพ้ทีเคโอไปในต้นยกที่ 5 หลังจากถูกหมัดขวาของฟอร์ดเข้าอย่างจังที่เบ้าตาซ้าย ในยกที่ 4 ทำให้เจ็บไม่สามารถชกต่อได้ ทำให้มนัสแพ้ครั้งแรกในการชกมวยสากลอาชีพชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. มนัสเคยมีภรรยาคือ นางพจนีย์ บุญจำนงค์ (เกตุสวัสดิ์) และมีบุตรด้วยกัน 3 คน ภายหลังจากได้เหรียญทองโอลิมปิก 2004 มนัสได้มีปัญหากับภรรยา และแยกทางกันเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2549 หลังจากแยกทางกับนางพจนีย์แล้ว ในวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2551 นางพจนีย์ก็ได้ให้กำเนิดบุตรชายเพิ่มอีก 1 คน ซึ่งมนัส ยอมรับกับผู้สื่อข่าวว่า บุตรที่เกิดมาภายหลังนี้เป็นบุตรที่เกิดจากตนเช่นกัน จากการที่มักมีปัญหาเรื่องผู้หญิงและครอบครัวแบบนี้ซึ่งส่งผลกระทบถึงการชกมวย จึงทำให้สื่อมวลชนให้ฉายามนัสว่า "เพลย์บอยกลับใจ" ในวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ทางกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาได้มีการอนุมัติให้มนัสเข้าบรรจุเป็นข้าราชการตำรวจเนื่องจากสร้างชื่อเสียงให้แก่ประเทศชาติ โดยจะให้ได้รับยศตามวุฒิการศึกษา นอกจากนี้แล้ว ในทางการเมือง ในการเลือกตั้งวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 มนัสได้เข้าสมัครเป็นสมาชิกพรรคชาติไทยพัฒนา พร้อมกับเพื่อนนักมวยอีก 3 คือ เขาทราย แกแล็คซี่, สมรักษ์ คำสิงห์ และเจริญทอง เกียรติบ้านช่อง โดยมนัสได้รับการจัดรายชื่อในบัญชีรายชื่อ ลำดับที่ 18 แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง ปัจจุบัน มนัสได้คบหากับแฟนคนปัจจุบัน คือ พิชยาภา พูนิสสัน (ชื่อเล่น: ปัด) หญิงชาวอำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ทั้งคู่ร่วมกันทำธุรกิจด้วยกันด้วยการจำหน่ายขนมประเภทซีเรียลใช้ชื่อว่า "มิกซ์ซีเรียล ตราแชมเปี้ยน By มนัส บุญจำนงค์" ผ่านทางเฟซบุกและตามงานจัดเลี้ยงต่าง ๆ นอกจากนี้แล้วมนัสยังมีธุรกิจเดินรถโดยสารวิ่งระหว่างจังหวัดราชบุรี-กรุงเทพมหานคร จำนวน 2 คัน และโต๊ะสนุกเกอร์อีกด้วย โดยให้น้องชายและพ่อเป็นผู้ดูแล อีกทั้งยังได้รับเงินจำนวนกว่า 100,000 บาทต่อเดือน จากทั้งการกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.), คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และบริษัท โอสถสภา จำกัด ในฐานะที่เคยสร้างชื่อเสียงให้กับประเทศมาก่อน จนกระทั่งอายุ 60 ปีเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2547 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้น ตติยดิเรกคุณาภรณ์
นักมวยคนใดที่ได้เหรียญทองจากการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่ประเทศกรีซ
{ "answer": [ "มนัส บุญจำนงค์" ], "answer_begin_position": [ 104 ], "answer_end_position": [ 118 ] }